หลักสัทศาสตร์และสรศาสตร์เพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษ

Essential English Phonetics and Phonology for Communication

1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจถึงกระบวนการผลิตเสียงพูดของคนเรา
2. เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักอวัยวะสำคัญที่ใช้และมีส่วนเกี่ยวข้องในการผลิตเสียงและออกเสียง
3. เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจกระบวนการผลิตเสียงพยัญชนะและสระในภาษา
4. เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจสัทอักษรของระบบ IPA และรู้จักการถ่ายทอดเสียงด้วยระบบนี้
5. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอ่านสัทอักษรและสามารถถอดเสียงโดยสัทอักษรได้อย่างถูกต้อง
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเรื่องกระบวนการผลิตเสียงพูด สรีระที่เกี่ยวข้องกับการออกเสียง และการเปล่งเสียงพูดตลอดจนการออกเสียงอย่างถูกต้อง
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับอวัยวะที่ใช้ในการออกเสียง  การออกเสียงพยัญชนะ สระภาษาอังกฤษ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนเสียง การถอดเสียงตามหลักสัทอักษรสากล หน่วยเสียง และการวิเคราะห์ระบบเสียงเบื้องต้น การลงเสียงหนักเบา ทำนองเสียง เพื่อประยุกต์ใช้ในบริบททางการสื่อสารต่างๆ
จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำสัปดาห์ละ 1 ชั่วโมง และแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน (เฉพาะรายที่ต้องการ)
นักศึกษาเข้าใจและสามารถแสดงออกซึ่งพฤติกรรมทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม  อาทิ ความมีวินัย มีความรับผิดชอบ  ซื่อสัตย์สุจริต  เสียสละ  เป็นแบบอย่างที่ดี  และสามารถจัดการปัญหาโดยมีพื้นฐานทางคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาวิชาชีพ  โดยนักศึกษาจะมีคุณสมบัติดังนี้      
[O]  มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง ต่อวิชาชีพ ตลอดจนสังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม (เน้นรอง)
 
1.2.1 ใช้แรงเสริมเพื่อให้กำลังใจนักศึกษาในการทำดี เช่น เมื่อนักศึกษามีวินัยในการส่งงาน มีความขยันในการเรียน การเข้าชั้นเรียนตรงเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม เป็นต้น

1.2.2 สร้างวัฒนธรรมองค์กรเพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ขยัน อดทน มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีความรับผิดชอบในการทำงานเป็นกลุ่ม ปลูกฝังจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
-เข้าเรียนตรงเวลา

-ส่งงานตามที่กำหนด

-มีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน
นักศึกษามีความรู้ในแต่ละรายวิชาอย่างกว้างขวาง มีทักษะที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ เข้าใจติดตาม และศึกษาการเปลี่ยนแปลงในสถาการณ์ของโลกปัจจุบัน  สามารถศึกษา ค้นคว้า และมีแนวทางในการแก้ปัญหาและการต่อยอดความรู้ โดยมีผลการเรียนรู้ดังนี้
 
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษาในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตาม ความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง (เน้นหลัก)

2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจในศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการเรียน สามารถนำความรู้และทักษะมาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขปัญหาในชีวิตประจำวันได้ (เน้นหลัก)
2.2.1 สอนโดยการบรรยาย การฝึกปฏิบัติจริงโดยเน้นการสอนแบบเน้นนักศึกษาเป็นศูนย์กลางการเรียน (Student Center)

2.2.2 จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

2.2.3 จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติ

2.2.4  มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่ผู้สอนและเพื่อนร่วมชั้นเรียน
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค

2.3.2 ผลการปฏิบัติ

2.3.3 ผลงานการค้นคว้าและการนำเสนอ
3.1.1 สามารถค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ และสามารถใช้ข้อมูลแนวคิดจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย  ใช้ข้อมูลที่ได้มาประยุกต์ใช้  รวมถึงนำมาแก้ไขปัญหาอื่นๆ ได้ด้วยตัวเอง และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์ 
3.1.2 [O] สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศจากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์อย่างเหมาะสม (เน้นรอง)
1. ผู้สอนบรรยาย

2. ให้ผู้เรียนซักถามและอภิปรายแสดงความคิดเห็น

3. ผู้เรียนฝึกใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในทักษะ การฟัง การพูด ภาษาอังกฤษตามเนื้อหาการบรรยาย

4. ให้ผู้เรียนทำแบบฝึก จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการวิเคราะห์ และให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติ
- จากการอภิปราย ซักถาม และแสดงความคิดเห็น
- จากการทดสอบภาคปฏิบัติ
- จากการตอบคำถามท้ายบทเรียน
- สอบกลางภาคและการสอบปลายภาค
นักศึกษาสามารถแสดงออกซึ่งภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม  มีความริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รับผิดชอบในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งพัฒนาตนเอง  ดังนั้นนักศึกษาต้องรู้จักการวางตัว  การมีมารยาทในการเข้าสังคม  และทักษะที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ดังนี้
[O] มีความรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง ( เน้นรอง)
 
- สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการใช้ท่วงทำนองเพื่อการสื่อสาร
- จัดการสอนแบบกิจกรรมกลุ่มโดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม
- จัดกิจกรรมให้นักศึกษาช่วยกันสอน ช่วยกันฝึกฝน
ให้เพื่อนนักศึกษาช่วยกันประเมิน ผู้สอนประเมินจากการปฏิบัติ สังเกตจากความสนใจ ความตั้งใจและการมีส่วนรวมของผู้เรียน การมีส่วนร่วมในกิจกรรม สังเกตพฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5
1 BOAEC104 หลักสัทศาสตร์และสรศาสตร์เพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2 การเข้าชั้นเรียนสม่ำเสมอ การร่วมทำงานกลุ่ม ปริมาณการทุจริตในการสอบ ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 2.1, 2.2, 3.1, 4.4, การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค การทดสอบออกเสียง ผลงานการทำงานกลุ่ม การรายงานผลการค้นคว้า 9, 17, 6, 8, 12, 14, 16, 10 - 16 25% 25% 20% 10%
3 3.1 การปฏิบัติออกเสียง ตลอดภาคการศึกษา 10%
Taladngoen, U.  (2018).  BOAEC104 Essential English Phonetics and Phonology for Communication.  Phitsanulok: Department of Liberal Arts, Faculty of Business Administration and Liberal Arts, Rajamangala University of Technology Lanna.
ไม่มี
Akmajian, A. et. al. (2001). Linguistics: An introduction to language and communication. Cambridge: MIT Press.
Celce-Murcia, M. et. al. (2016). Teaching pronunciation: A course book and reference guide (2nd ed.). Cambridge: Cambridge University Press.
EnglishClub. (2018). Airline announcements. Retrieved from https://www.englishclub.com/english-for-work/airline-announcements.htm 
English Phonetics: Consonants (i). Retrieved from http://www.blackwellpublishing.com/content/bpl_images/content_store/sample_chchapt /9780631197768/carr.pdf
Forel, C. & Puskas, G. (2005). Phonetics and phonology: Reader for first year English linguistics. Geneva: University of Geneva.
Fromkin, V., Rodman, R. & Hyams, N. (2007). An introduction to language (8th ed.). The United States of America: Thomson West.
Hewings, M. (2007). English pronunciation in use: Advanced. Cambridge: Cambridge University Press.
International Phonetic Association. (2015). The international phonetic alphabet (revised to 2005). Retrieved from https://www.internationalphoneticassociation.org/sites /default/files/IPA_Kiel_2015.pdf
Jotikasthira, P. (2014). Introduction to the English language: System and structure (3rd ed). Bangkok: Chulalongkorn University Press.
Kelly, G. (2000). How to teach pronunciation. Oxfordshire: Bluestone Press.
Ladeforged, P. (1993). A course in phonetics (3rd ed.). Fort Worth: Harcourt Brace Jovanovich College Publishers.
Roach, P. (2000). English phonetics and phonology (3rd ed.). Cambridge: Cambridge University Press.
Roach, P. (2009). English phonetics and phonology: A practical course (4th ed.). Cambridge: Cambridge University Press.
Timyam, N. (2010). An introduction to English linguistics. Bangkok: Department of Foreign Languages, Fuaculty of Humanities, Kasetsart University.
Wells, J. C. (2000). Longman pronunciation dictionary (2nd ed.). Harlow: Pearson Education Limited.
Yule, G. (1996). The Study of Language (2nd ed.). Cambridge: Cambridge University Press.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมองและหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ