สุนทรียศาสตร์และการพัฒนาบุคลิกภาพ

Aesthetics and Personality Development

1. เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับทฤษฎีเกี่ยวกับสุนทรียศาสตร์ศิลปะและการพัฒนาบุคลิกภาพ ปัจจัยและองค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อบุคลิกภาพเพื่อสร้างความมั่นใจให้กับตนเองสอดคล้องกับงานบริการ
2. เพื่อให้นักศึกษาฝึก มารยาทการเข้าสังคม การปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นและสามารถปรับปรุง พัฒนาบุคลิกภาพมาประยุกต์ใช้และแก้ปัญหาเฉพาะหน้าให้สอดคล้องกับงานาบริการ
 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีเทคนิคพัฒนาบุคลิกภาพ ทัศนคติที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยตามมาตรฐานสากล
แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับสุนทรียศาสตร์ ศิลปะและการพัฒนาบุคลิกภาพ ปัจจัยและองค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อบุคลิกภาพ การปรับปรุงบุคลิกภาพ การแต่งกาย การพูด มารยาท การเข้าสมาคม การปรับตัวและการทำงานร่วมกับผู้อื่น เน้นการพัฒนาบุคลิกภาพให้เหมาะสมสอดคล้องกับงานบริการ การฝึกปฏิบัติการและติดตามประเมินผล
3.1 อาจารย์ผู้สอนหรืออาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาให้คำปรึกษาและข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนของนักศึกษาผ่านทางเว็บไซด์หรือเครือข่ายสังคมออนไลน์
3.2 อาจารย์ผู้สอนหรืออาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาตามเวลาที่ประกาศหรือตามเวลาที่นัดเป็นรายบุคคล/กลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการและนัดหมายล่วงหน้า)
หมายเหตุ : คะแนนความประพฤติมีครั้งละ 1 คะแนน โดยนักศึกษาต้องแต่งกายถูกต้องตามระเบียบมหาวิทยาลัยเท่านั้น ห้ามใช้โทรศัพท์หรือเปิดเสียงโทรศัพท์ในห้องเรียน การขาดเรียนเกิน 3 ครั้ง จะส่งชื่อไม่มีสิทธิ์สอบในรายวิชาทันที โดยการมาสาย 3 ครั้ง นับเป็น 1 การขาดเรียน ทั้งนี้นักศึกษาทั้งชาย-หญิงให้แต่กายตามระเบียบมหาวิทยาลัย สีผมธรรมชาติและไม่ไว้หนวดเครา หากพบผู้ฝ่าฝืนจะหักคะแนนต่อครั้งไม่เกิน 3ครั้ง โดยครั้งที่ 4 จะไม่อนุญาตให้เข้าห้องเรียน 
1. มีความซื่อสัตย์ สุจริต  และสามารถจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
2. สอนคุณธรรม จริยธรรมสอดแทรกในบทเรียนวิชาเฉพาะ
3. สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน
6. การแสดงออกอันเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้สอน
2.  สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน
4.  กำหนดหัวข้อทางคุณธรรม จริยธรรมให้พูดแสดงออก
2. มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม-ตอบ
2. ทำรายงานเปรียบเทียบความรู้จากห้องเรียนกับการทำงานจริง ภาคปฏิบัติ
3. อภิปรายเป็นกลุ่ม โดยให้ผู้สอนตั้งคำถามตามระบบการสอนยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
1. ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติ โดยการสอบย่อย และให้คะแนน
2. ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
3. ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน
3. มีสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจ และจากศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมาเพื่อพัฒนาทักษะการทำงานให้เกิดประสิทธิผล
2. การอภิปรายเป็นกลุ่ม
2. การอภิปรายเป็นกลุ่ม
1. ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทำ
2. การสอบข้อเขียน
1. มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตน ในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหาได้
2. มอบหมายงานเป็นกลุ่มย่อย และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยหมุนเวียนกันในกลุ่ม
3. สอนโดยใช้กรณีศึกษา
1. ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน
4. สังเกตพฤติกรรมในการเรียน
2. มีความสามารถในการสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม
2. ทดลองให้ใช้อุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการทางการท่องเที่ยวและโรงแรม หรือสายการบิน
3. นำเสนอผลงานที่ค้นคว้าและอภิปรายด้วยตนเองหรือแบบกลุ่มในห้องเรียน
1. ประเมินผลโดยการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ
2. ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน
4. ประเมินผลจากการสรุปหัวข้อที่มอบหมายให้ค้นคว้า
1. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานขั้นพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ
1. ทดสอบทักษะทางวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการโดยการสอบปฏิบัติ
2. ประเมินผลจากการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.3 มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนา มีภาวะผู้นำ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น 1.4 มีวินัยในการทำงาน และปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม 2. มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 1. มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และความขัดแย้ง รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม ทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก 2. มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม 3. มีสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจ และจากศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมาเพื่อพัฒนาทักษะการทำงานให้เกิดประสิทธิผล 1. มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตน ในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหาได้ 2. มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่องและตรงตามมาตรฐานสากล 3. มีความสามารถทำงานร่วมกับผู้ร่วมวิชาชีพทุกระดับในสภาพสังคมการทำงานที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม 1. มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. มีความสามารถในการสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม 3. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามตำแหน่งงานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ 3. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามสมรรถนะวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการที่มีมาตรฐานและเป็นสากล
1 BOACC101 สุนทรียศาสตร์และการพัฒนาบุคลิกภาพ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,4.1 -สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน -สังเกตพฤติกรรมในการเรียน /มารยาท/การแต่งกาย ตลอดภาค 20 %
2 2.1 -ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค -ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติ โดยการสอบย่อยเก็บคะแนน -ศึกษาดูงานนอกสถานที่/มานยาทบนโต๊ะอาหาร 8,9,16,17 ตลอดภาคการศึกษา 60 %
3 2.1, 3.1, 4.1,5.1,6.1 -ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน -ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทำของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน -ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน -ประเมินผลจากการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ -สอบเก็บคะแนน ตลอดภาคการศึกษา 20 %
             จิตตินันท์  นันทไพบูลย์.ศิลปะการให้บริการ.กรุงเทพฯ:ซีเอ็ดยูเคชั่น,2555
ฉลองศรี  พิมลสมพงศ์.การจัดบริการอาหารและเครื่องดื่ม.พิมพ์ครั้งที่.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์มหาวิทยาลับเกษตรศาสตร์,2555
ถิตรัตน์ พิมพาภรณ์.การพัฒนาบุคลิกภาพสำหรับผู้ให้บริการในธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว.กรุงเทพฯ:ท้อป,2557
เอนก  สุวรรณบัณฑิต,ภาสกร  อดุลพัฒนกิจ.จิตวิทยาบริการ.กรุงเทพฯ.พิมพ์ครั้งที่ 3:สำนักพิมพ์อดุลพัฒนกิจ,2554
เอกสารประกอบการสอนและ Power Point            
         วิทยานิพนธ์ สถาบันมหาวิทยาลัยอื่นๆ ในสาขาวิชาด้านการท่องเที่ยวและการบริการ ตลอดจนรายงานการวิจัยของสำนักกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว) และผลงานวิจัยของอาจารย์ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการบริการ
       www.tat.or.th , www.etatjournal.com
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
ให้นักศึกษาประเมินเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในประเด็นต่อไปนี้
1.1 ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนในประเด็นต่อไปนี้          
· วันแรกของการเรียนอาจารย์ผู้สอนอธิบายทำความเข้าใจรายวิชากระบวนการจัดการเรียนการสอน เกณฑ์การให้คะแนนการประเมินในรายวิชา
· ความตรงต่อเวลา
· การแต่งกาย บุคลิกภาพ
· คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม
· การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน
· ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เขาใจและกระตุ้นการเรียนรู้
· แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์ของหัวข้อที่สอน
· จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา
· การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน
1.2 ให้นักศึกษาประเมินภาพรวมของรายวิชาในประเด็นต่อไปนี้
· ความรู้ความสามารถโดยรวมและประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนวิชานี้
· ความพึงพอใจต่อการเรียนวิชานี้
ข้อเสนอแนะอื่นๆ
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
         ให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหรืออาจารย์ประจำหลักสูตร ดำเนินการดังต่อไปนี้
2.1 ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด
2.2 อาจารย์ผู้สอนประเมินจากการสอนตนเอง ดูจากการส่งงานของนักศึกษา การขอพบที่ปรึกษาในรายวิชา การจัดโครงการและทำรายงานสรุปพัฒนาการของนักศึกษาปัญหาและอุปสรรคและแนวทางการแก้ไข
3. การปรับปรุงการสอน
สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม มีกลไกและวิธีการปรับปรุงการเรียนการสอน ดังนี้
3.1 การประมวลความคิดเห็นของนักศึกษา การประเมินการสอนของตนเองและสรุปปัญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไขเมื่อสิ้นสุดการสอน เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการปรับปรุงรายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป
3.2 ปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาให้ทันสมัยและเหมาะสมกับนักศึกษารุ่นต่อไป
3.3 ประชุม/สัมมนาอาจารย์ผู้สอนเพื่อพิจารณาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนสำหรับปีการศึกษาต่อไปโดยอาศัยข้อมูลดังต่อไปนี้

ผลการศึกษาของนักศึกษา

ผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม มีกระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ดังนี้
ทดสอบโดยการใช้ Pretest ,Posttest การสุ่มสัมภาษณ์ตรวจรายงานและข้อสอบโดยคณะกรรมการทวนสอบระดับหลักสูตร
5. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
5.1 เมื่อสิ้นสุดภาคเรียนอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจะจัดประชุม ติดต่อความคิดเห็นจากอาจารย์ที่รับผิดชอบรายวิชาสอนเดียวกัน
5.2 เพื่อพัฒนาเนื้อหาสาระให้ทันสมัยและปรับวิธีการเรียนการสอน วิธีการประเมินผล ให้ตรงกับการเรียนรู้