การออกแบบกราฟิกเคลื่อนไหว

Motion Graphic Design

1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.2 รอบรู้ในศาสตร์ทางด้านการออกแบบกราฟิกเคลื่อนไหวและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
1.3 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านการออกแบบกราฟิกเคลื่อนไหวอย่างเป็นระบบ
1.4 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน
1.5 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.6 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
1.7 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
1.8 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงานการออกแบบกราฟิกเคลื่อนไหว
ได้ปรับปรุงโดยการเพิ่มงานปฏิบัติงานเดียวให้มากขึ้นและลดงานกลุ่มลง
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ กระบวนการวางแนวคิดการออกแบบกราฟิกเคลื่อนไหวสำหรับสื่อต่างๆ การออกแบบสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว หลักการสร้างภาพกราฟิกเคลื่อนไหว 2 มิติ การประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหวผสมผสานเสียงและดนตรี การสร้างบรรยากาศการเล่าเรื่อง และการสร้างภาพกราฟิกเคลื่อนไหวประกอบกับภาพเคลื่อนไหวชนิดอื่น
2 ชั่วโมง/ สัปดาห์
- ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
     - สอดแทรกความซื่อสัตย์ ความมีคุณธรรมและจริยธรรมในการออกแบบกราฟิกเคลื่อนไหว      - รู้จัดระเบียบวินัย การตรงต่อเวลาในการออกแบบกราฟิกเคลื่อนไหว      - มีจรรยาบรรณในวิชาชีพการออกแบบกราฟิกเคลื่อนไหวไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น
     - ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน      - ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด      - ประเมินจากผลงานปฏิบัติรายกลุ่ม      - ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
- รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
- มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
     - ทำการค้นคว้าลักษณะงานออกแบบกราฟิกเคลื่อนไหว      - ทำการค้นคว้าลักษณะงานออกแบบกราฟิกเคลื่อนไหวจากสถานการณ์จริง (การส่งประกวดทางด้านกราฟิกเคลื่อนไหว)
     - ประเมินจากผลงานปฏิบัติรายบุคคล      - ประเมินจากการสอบทฤษฏี
- สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน
- การวิเคราะห์ข้อมูลอย่างถูกต้องไม่บิดเบือนในการออกแบบกราฟิกเคลื่อนไหว
- ประเมินจากผลงานรายบุคคล - ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
-
-
-
- สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ทำการปฏิบัติงานออกแบบกราฟิกเคลื่อนไหวประยุกต์ให้เข้ากับเทคโนโลยีปัจจุบัน
- ประเมินจากผลงานบุคคล - ประเมินจากการนำเสนอ
- มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
- มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง - มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
- ทำการปฏิบัติตามแบบการออกแบบกราฟิกเคลื่อนไหว
- ทำการปฏิบัติงานออกแบบกราฟิกเคลื่อนไหวจากลักษณะงานจำลอง - ทำการปฏิบัติงานออกแบบกราฟิกเคลื่อนไหวแบบสร้างสรรค์ รูปแบบและแนวทางของตนเอง
     - ประเมินจากผลงานรายบุคคล      - ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)      - ประเมินจากการสอบทฤษฎี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความ สัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAACD137 การออกแบบกราฟิกเคลื่อนไหว
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน การสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง 1(1) 1-15 5
2 การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง 1(1) 2-15 5
3 ผลงานรายบุคคล 1(1), 3(1), 5(2), 6(1) (2) (3) 2-15 40
4 การนำเสนอ 5(2) 2-15 10
5 การสอบข้อเขียน (สอบเก็บคะแนน สอบกลางภาค สอบปลายภาค) 2(1), 2(2), 3(1) 9-17 20
6 ผลงานกลุ่ม 1(1), 3(1), 5(2), 6(1) (2) (3) 10-15 20
Adobe After Effect cc 2019
Cinema 4D
Motion Graphic
Infographic
-
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ 3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ