ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารในสำนักงาน

Chinese for Office Communication

1. ศึกษาคำศัพท์และสำนวนภาษาที่ใช้ในการขอร้อง 2. ฝึกการสนทนาเกี่ยวกับการการปฏิเสธและการสนทนาทางทางโทรศัพท์ 3. สามารถเขียนจดหมายเพื่อติดต่อกันในระหว่างสำนักงาน
เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ศึกษาคำศัพท์และสำนวนในการขอร้อง การปฏิเสธ การสนทนาทางโทรศัพท์ และการเขียนจดหมายเพื่อติดต่อกัน
-  อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม เพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างราบรื่น และประพฤติตนโดยคำนึงถึงประโยชน์ของส่วนรวม
1.1.1      มีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2      มีจรรยาบรรณ ทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3      มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4      เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1      บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา 1.2.2      อภิปรายกลุ่ม 1.2.3      กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1.3.1      ประเมินผลการตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน
1.3.2      ประเมินผลความมีวินัย และความใส่ใจของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
1.3.3      ประเมินความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่กำหนด
1.3.4      ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย และการสอบ
2.1.1      มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎี และหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2      สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3      สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2.2.1      ใช้รูปแบบการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.2.2      ใช้การบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน
2.2.3      จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง
2.3.1      การทดสอบย่อย
2.3.2      การสอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน
2.3.3      ประเมินจากการที่ได้รับมอบหมาย
2.3.4      การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3.1.1      มีทักษะในการปฎิบัติจากการประยุกต์ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2    มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1     ใช้รูปแบบการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
3.2.2      ใช้การบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน
3.2.3    ให้นักศึกษารู้จักวิเคราะห์องค์ประกอบของสถานการณ์ต่างๆ โดยใช้บทบาทสมมติ สถานการณ์จำลอง
3.3.1     บทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง
3.3.2     การเลือกใช้วิธีการเพื่อแก้ไขปัญหาในบริบทต่างๆ
3.3.3     การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3.3.4    การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
4.1.1     มีมนุษยสัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2     พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตาม
4.1.3     สามารถทำงานเป็นทีม และแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4    สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1     ดำเนินการสอนโดยกำหนดกิจกรรมกลุ่ม
4.2.2    ค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ที่มีประสบการณ์และประสบความสำเร็จในงานอาชีพ
4.3.1     ประเมินพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน
4.3.2    พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรม
5.1.1     เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสท่สารได้เหมาะสม
5.1.2     สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เพื่อแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3    ใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะและสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
5.2.1    ให้นักศึกษาติดต่อสื่อสาร ค้นคว้าหาข้อมูล และนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3.1     ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการสื่อสาร ค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงาน
5.3.2    จรรยามารยาทในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ และวัฒนธรรมสากล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาคและสอบปลายภาค 9 , 17 25% 25%
3 ทดสอบย่อย (ทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน) ตลอดภาคการศึกษา 15%
4 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
5 การส่งงาน/การบ้านตามที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 25%
แบบเรียนภาษาจีนพื้นฐาน ชุดสัมผัสภาษาจีน 2, สำนักพิมพ์ Higher Education, Jiang Liping
แบบเรียนภาษาจีนพื้นฐาน ชุดสัมผัสภาษาจีน 3, สำนักพิมพ์ Higher Education, Jiang Liping
หนังสือสนทนาภาษาจีน 301 ประโยค(2), สำนักพิมพ์เพ็ญวัฒนา , Kang Yuhua, Lai Siping
Basic Chinese for Office, Faculty of Humanities, Chiang Mai University, Zhang Peipei
- เว็บไซต์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาตลอดจนแบบฝึกหัดออนไลน์
www.jiewfudao.com
www.jeenmix.com
www.chinesexpert.com
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

   การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน    แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา    ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ