ระบบสารสนเทศทางการบัญชี

Accounting Information System

เพื่อศึกษาแนวความคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศทางการบัญชี เทคนิค และวิธีการของระบบสารสนเทศ การควบคุมภายในที่สำคัญ หลักการจัดทำเอกสารของธุรกิจ แนวคิดในการจัดทำรายงานเพื่อช่วยในการควบคุมและตัดสินใจ การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศทางการบัญชี วงจรธุรกิจขั้นพื้นฐาน วงจรรายได้ วงจรรายจ่าย วงจรการผลิต วงจรเงินเดือนและค่าแรง วงจรการบริหารเงิน ประเภทของเอกสารและสารสนเทศที่เกี่ยวข้องในแต่ละวงจร ทางเดินเอกสารและสารสนเทศทางการบัญชีที่เกี่ยวข้อง รวมถึงความรับผิดชอบตามมาตรฐานการเรียนรู้ในแต่ละด้านดังนี้ (ตาม Domain of Leaning)
เพื่อให้สอดคล้องกับคำอธิบายรายวิชาในหลักสูตรและเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรีของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ศึกษาแนวความคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศทางการบัญชี เทคนิค และวิธีการของระบบสารสนเทศ การควบคุมภายในที่สำคัญ หลักการจัดทำเอกสารของธุรกิจ แนวคิดในการจัดทำรายงานเพื่อช่วยในการควบคุมและตัดสินใจ การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศทางการบัญชี วงจรธุรกิจขั้นพื้นฐาน วงจรรายได้ วงจรรายจ่าย วงจรการผลิต วงจรเงินเดือนและค่าแรง วงจรการบริหารเงิน ประเภทของเอกสารและสารสนเทศที่เกี่ยวข้องในแต่ละวงจร ทางเดินเอกสารและสารสนเทศทางการบัญชีที่เกี่ยวข้อง
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการโดยกำหนดเวลาไว้วันละ 1 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 15.30-16.30 น.
ด้านคุณธรรมจริยธรรม
ข้อ 1 (2) มีความสุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบันและสังคม
ข้อ 1 (3) สามารถบริหารเวลาและปรับวิถีชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในสังคม
เน้นความสำคัญของการตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงาน ให้นักศึกษาปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อตกลงของรายวิชา สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ในเนื้อหาวิชาเรียน
สังเกตจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงาน รวมถึงการปฏิบัติตามกฎระเบียบต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ประเมินจากการตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด
ข้อ 2 (1) มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี
ข้อ 2 (2) มีความรู้ความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชี
            โดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาสม
ข้อ 2 (3) มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่นๆ โดยใช้วิธีการเรียนรู้
            จากประสบการณ์
ข้อ 2 (4) สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและ
            ภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
เน้นหลักการทางทฤษฎี การให้กรณีศึกษาเพื่อเกิดองค์ความรู้ มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพื่อจัดทำรายงานหรือโครงงาน
ประเมินจากการทดสอบกลางภาคและปลายภาค ประเมินจากงานที่มอบหมาย
ข้อ 3 (1) สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่าง ๆ เพื่อนำมาใช้ในการระบุและวิเคราะห์ปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ด้วยตนเอง
ข้อ 3 (2) สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางการบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหารวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ในสถานการณ์ต่างๆ อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
ให้นักศึกษาฝึกการเรียนรู้ และกระบวนการคิด วิเคราะห์จากระดับง่ายไปสู่ระดับที่ยากขึ้น ผ่านกรณีศึกษาที่ให้นักศึกษา ให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับ ไปใช้ในการวิเคราะห์ด้วยตนเอง รวมทั้งการสนำเสนอในรูปแบบรายงาน
ประเมินจากการส่งงาน และการมีส่วนร่วมในกลุ่ม ประเมินจากการเอาใจใส่ การซักถาม และรูปเล่มรายงานที่นำเสนอ
ข้อ 4 (1) สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
มอบหมายงานแบบกลุ่มงานย่อย และกลุ่มงานใหญ่ ผลัดกันเป็นผู้รายงาน และนำเสนอ มอบหมายกรณีศึกษาใหม่ ๆ เพื่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมายและระยะเวลาในการส่งงาน ประเมินจากการนำเสนอรายงาน
ข้อ 5 (2) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกัน
มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต และสารสนเทศอื่น ให้อภิปรายและนำเสนอผลงานที่ได้จากการสืบค้นหน้าชั้นเรียน และนำเสนอในรูปแบบรายงาน
ประเมินจากผลงานที่ได้สืบค้นทางอินเตอร์เน็ต ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2..ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1) เน้นความสำคัญของการตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงาน 2) ให้นักศึกษาปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อตกลงของรายวิชา 3) สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ในเนื้อหาวิชาเรียน 1) เน้นหลักการทางทฤษฎี การให้กรณีศึกษาเพื่อเกิดองค์ความรู้ 2) มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพื่อจัดทำรายงานหรือโครงงาน 1) ให้นักศึกษาฝึกการเรียนรู้ และกระบวนการคิด วิเคราะห์จากระดับง่ายไปสู่ระดับที่ยากขึ้น ผ่านกรณีศึกษาที่ให้นักศึกษา 2) ให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับ ไปใช้ในการวิเคราะห์ด้วยตนเอง รวมทั้งการสนำเสนอในรูปแบบรายงาน 1) มอบหมายงานแบบกลุ่มงานย่อย และกลุ่มงานใหญ่ ผลัดกันเป็นผู้รายงาน และนำเสนอ 2) มอบหมายกรณีศึกษาใหม่ ๆ เพื่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ 1) มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต และสารสนเทศอื่น 2) ให้อภิปรายและนำเสนอผลงานที่ได้จากการสืบค้นหน้าชั้นเรียน และนำเสนอในรูปแบบรายงาน
1 BACAC134 ระบบสารสนเทศทางการบัญชี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ข้อ 1 (2) (4) ข้อ 2 (1) ข้อ 3 (1) (2) ข้อ 4 (1) (2) ข้อ 5 (2) - ทำแบบทดสอบกลางภาคบทที่ 1 – 6 - ทำแบบทดสอบปลายภาคบทที่ 7 – 12 - ทำแบบทดสอบกลางภาคบทที่ 1 – 6 - ทำแบบทดสอบปลายภาคบทที่ 7 – 12 70 คะแนน
2 ข้อ 1 (2) (4) ข้อ 2 (1) ข้อ 3 (1) (2) ข้อ 4 (1) (2) ข้อ 5 (2) - ประเมินจากการเช็คชื่อเข้าชั้นเรียน - ประเมินจากการส่งแบบฝึกหัด - ประเมินจากงานกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา 30 คะแนน
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ระบบสารสนเทศทางการบัญชี โดย อาจารย์อัจฉราภรณ์ พูลยิ่ง
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ระบบสารสนเทศทางการบัญชี โดย อาจารย์คทาวุธ แก้วบรรจง
พลพธู ปียวรรณ และ สุภาพร เชิงเอี่ยม. 2551. ระบบวางแผนทรัพยากรองค์กรในงานบัญชี ERP in Accounting. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พลพธู ปียวรรณ และ สุภาพร เชิงเอี่ยม. 2553. ระบบสารสนเทศทางการบัญชี. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : วิทยพัฒน์.
รุจิจันทร์ วิชิวานิเวศน์. 2549. สารสนเทศทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยุเคชั่น. 
สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์. มาตรฐานทางวิชาชีพบัญชี.แหล่งที่มา http://www.fap. or.th/index.php
อรรถพล ตริตานนท์. 2546. ระบบสารสนเทศทางการบัญชี. กรุงเทพฯ : เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า.
Marshall B. Romney and Paul John Steinbart. 2009. 8th Edition. Accounting Inforamation Systems. Pearson Education, Inc.
1. การสอบถามความคิดเห็นจากนักศึกษาเป็นรายคนและรายกลุ่ม
2.แบบประเมินผู้สอนของมหาวิทยาลัย
สังเกตการมีส่วนร่วมในการทำงาน การตรวจงานที่มอบหมาย การตรวจความมีระเบียบวินัย การตรงต่อเวลา และปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย


ทดสอบวัดผลการเรียน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จะมีการปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมองและหาข้อมูลเพิ่มเติม ดังนี้
3.1 ประชุมผู้สอนในสาขาเพื่อพิจารณาผลในภาพรวมและนำไปสู่การปรับปรุงการเรียนการสอนต่อไป
3.2 การวิจัยในชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาดังนี้
           1. ทดสอบความรู้ของนักศึกษาอย่างสม่ำเสมอ โดยการทวนถามและให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น

  ทดสอบความรู้ของนักศึกษา โดยการสุ่มด้วยวิธีการสัมภาษณ์หลังจากส่งผลการเรียนแล้ว
จากการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้

  ปรับปรุงวิธีการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับยุคสมัย   ปรับปรุงวิธีการเรียนการสอนตามข้อเสนอและและผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์   ปรับปรุงเอกสารประกอบการสอนและสื่อการสอนต่างๆ ให้ทันสมัยอยู่เสมอ