การออกแบบเครื่องประกอบการแต่งกาย

Accessories Design

1.1  รู้หลักการเกี่ยวกับการออกแบบเครื่องประกอบการแต่งกาย   1.2  เข้าใจการที่ใช้ประเภทสไตล์ในการออกแบบ  แนวโน้มที่ใช้ในการออกแบบ   1.3  เข้าใจการผลิตชิ้นงานจริง  การสร้างต้นแบบ  1.4  เข้าใจการนำเสนอการออกแบบเครื่องประกอบการแต่งกาย 1.5  มีทักษะในการออกแบบเครื่องประกอบการแต่งกาย  
           เพื่อปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอน และเนื้อหาให้เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบันสอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำหนด เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะเกี่ยวกับเกี่ยวกับการออกแบบเครื่องประกอบการแต่งกาย  ที่ใช้ประเภทสไตล์ในการออกแบบ  แนวโน้มที่ใช้ในการออกแบบ  การผลิตชิ้นงานจริง การสร้างต้นแบบและการนำเสนอการออกแบบเครื่องประกอบการแต่งกาย ในรายวิชาอื่นๆ  ที่เกี่ยวข้อง  อย่างมีประสิทธิภาพ มีมาตรฐานสากล
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการออกแบบเครื่องประกอบการแต่งกาย  ที่ใช้ประเภทสไตล์ในการออกแบบ  แนวโน้มที่ใช้ในการออกแบบ  การผลิตชิ้นงานจริง  การสร้างต้นแบบและการนำเสนอการออกแบบเครื่องประกอบการแต่งกาย 
Practice designing accessories with style applied for the design, trends in design, producing model of accessories design and presenting accessories design projects.
 -    อาจารย์ผู้สอน ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน     -    อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาอย่างน้อย 1 ชั่วโมง / สัปดาห์  
1.1.1   มีทัศคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
1.2.1   ให้ความสำคัญในระเบียบวินัยการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา การส่งงานตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นตามระเบียบที่เป็นตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
1.2.2   บรรยายและยกตัวอย่างเกี่ยวกับเนื้อหาของการออกแบบเครื่องประกอบการแต่งกาย  ในรายวิชามีการแสดงความคิดเห็น  สร้างทัศนคติต่อวิชาชีพงานออกแบบและความยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
1.2.3    มอบหมายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองเป็นรายบุคคลและเป็นรายกลุ่ม  
1.3.1    การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน  การส่งงานตามกำหนดระยะเวลา    ที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรม (ด้วยระบบออนไลน์และการเรียนในชั้นเรียน)
1.3.2    พิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรม   การแสดงความคิดเห็นต่อผลงาน ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่นและความใส่ใจของนักศึกษาในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
1.3.3   สังเกตพฤติกรรมการเรียนการทำงานกลุ่มและรายบุคคล
2.1.1 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหาและพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
2.2.1   บรรยาย อภิปราย โดยผู้สอนใช้สื่อที่หลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ทางการออกแบบ (ด้วยระบบออนไลน์และการเรียนในชั้นเรียน)
2.2.2   มอบหมายงานให้ทำการออกแบบค้นคว้า รายบุคคล  วิเคราะห์เพื่อแก้ไข   ปัญหาผลิตภัณฑ์ โดยนำหลักการทางทฤษฎีมาประยุกต์ผลงานศิลปะได้ตามขั้นตอนอย่างถูกต้อง
 
 
2.3.1   การสอบกลางภาคเรียน (ด้วยรูปแบบออนไลน์)  และปลายภาคเรียน (การจัดการเรียนเต็มเวลา)
2.3.2   ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติออกแบบและการนำเสนอผลงานในชั้นเรียน
2.3.3   ประเมินจากรายงานจากการศึกษาดูงาน
3.1.4  มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
3.2.1   มอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลการออกแบบเครื่องประกอบการแต่งกาย  วิเคราะห์  สังเคราะห์และสรุปผล  พร้อมทั้งการนำเสนองาน  โดยอภิปรายเดี่ยว การร่วมแสดงความคิดเห็น (ด้วยรูปแบบออนไลน์และการจัดการเรียนเต็มเวลา)
3.2.2  ส่งเสริมการเรียนรู้รู้จากการแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์ผลงานตามจุดประสงค์  
 3.3.1 ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน  การปฏิบัติงานการคิดวิเคราะห์ และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน  จากความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
4.1.2  มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.2.1  จัดกิจกรรมการนำความรู้การออกแบบเครื่องประกอบการแต่งกาย การทำงานแต่ละขั้นตอนการปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่น เพื่อเป็นการเชื่อมความสัมพันธ์ที่ดี อย่างมีประสิทธิภาพ (ด้วยรูปแบบออนไลน์และการจัดการเรียนเต็มเวลา)
4.2.2  ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับ
4.2.3 ส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออกและเสนอความคิดเห็น
4.3.1 ประเมินจากการร่วมจัดกิจกรรมกลุ่ม และการรายงานผลของการจัดกิจกรรม 4.3.2 พิจารณาจากพฤติกรรมการแสดงออกในการเข้าร่วมกิจกรรม ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ
5.1.1  สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าองค์ความรู้  การหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลตำรา เอกสารและสื่อสังคม   นำมาประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับงานนำเสนอ ผลงานกับการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 5.2.2   เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนอรูปแบบวิธีการสื่อสารที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพ   (ด้วยรูปแบบออนไลน์และการจัดการเรียนเต็มเวลา)
5.3.1 ประเมินจากผลการหาข้อมูลที่ถูกต้องจากวิธีการและเลือกใช้เครื่องมือสื่อสาร   5.3.2 ประเมินจากอธิบายเหตุผลและการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ     
   6.1.3  มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน  
6.2.1   สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางการปฏิบัติงานตามกระบวนการออกแบบเครื่องประกอบการแต่งกาย  การผลิตต้นแบบและใบงานปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง   
6.3.1  ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงานที่มอบหมาย 6.3.2  สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงาน  
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAATJ112 การออกแบบเครื่องประกอบการแต่งกาย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2..1..1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 15% 15%
2 3.1.1,3.1.2 ประเมินผลจากผลงานภาคปฏิบัติ (ออนไลน์) สัปดาห์ 1-8 20%
3 3.1.1,3.1.2 ประเมินผลจากผลงานภาคปฏิบัติ (การจัดการเรียนเต็มเวลาในชั้นเรียน) สัปดาห์ 10-16 30%
4 5.1.1, 6.1.1 การวิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน ตลอดภาคการศึกษา 10%
5 1.1.1, 4.2.1,4.2.2 การเข้าชั้นเรียน การทำงานกลุ่ม และผลการทำงาน ทักษะในการสร้างสัมพันธ์และมารยามสังคมที่ดีระหว่างผู้เรียนด้วยกัน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. จารุพรรณ  ทรัพย์ปรุง.  การออกแบบเครื่องแต่งกาย.  กรุงเทพ: โอเดียนสโตร์,  2543. 2.  จิตรพี  ชวลาวัณย์.  การออกแบบเครื่องแต่งกายสมัยใหม่.  กรุงเทพ: โอเดียนสโตร์,  2555. 3.  เจียมจิต  เผือกศรี.  การออกแบบเสื้อ.  กรุงเทพ: ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ,  2550. 4.  นาโอกิ  วาตานาเบะ.  เทคนิคการวาดภาพแฟชั่นร่วมสมัย. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์ ดวงกมลพับลิชซิ่ง,  2553. 5.  นวลน้อย  บุญวงษ์.  หลักการออกแบบ.  กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  2539. 6.  พรสนอง  วงศ์สิงห์ทอง.  การออกแบบและพัฒนาแฟชั่นและมัณฑณภัณฑ์.  กรุงเทพ: วิสคอมเซ็นเตอร์,  2550. 7.  วัชรินทร์  จรุงจิตสุนทร.  หลักการและแนวคิดการออกแบบผลิตภัณฑ์.  กรุงเทพฯ: แอ๊ปป้า พริ้นติ้ง กรุ๊ป, 2548.  
หนังสือภาษาต่างประเทศ 8.  Bunka Fashion College.  Guide to Fashion Design.  Japan : Bunka Publishing Bureau,  1991. 9.  Steven Thomas Miller.  Drawing Fashion Accessories.  London : Laurence King, 2012.  
 ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน  
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็น จากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1  การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน (ด้วยรูปแบบออนไลน์และการจัดการเรียนเต็มเวลา)
1.2  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัย
 ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา 2.2 การอภิปรายของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียน 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
         หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้      3.1 ทบทวนเนื้อหา และวิธีการสอนให้สอดคล้องกับเกณฑ์กำหนด      3.2 หาแนวทาง และวิธีการสอนที่เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน (ด้วยรูปแบบออนไลน์และการจัดการเรียนเต็มเวลา)
       ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียน รู้ในวิชา โดยมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบผลการให้คะแนนนักศึกษาตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย 4.2 การประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 6 ด้าน
     จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปีตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 การประชุมกรรมการประจาหลักสูตรเพื่อพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา