การยศาสตร์

Ergonomics

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกายวิภาคมนุษย์ ขนาดสัดส่วนของมนุษย์ที่มีความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพของสถาปัตยกรรมภายใน รวมถึงมีความเข้าใจพื้นฐานจิตวิทยาองค์ประกอบและปัจจัยทางสถาปัตยกรรมที่ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมมนุษย์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับกายวิภาคมนุษย์ ขนาดสัดส่วนของมนุษย์ที่มีความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพของสถาปัตยกรรมภายใน รวมถึงมีความเข้าใจพื้นฐานจิตวิทยาองค์ประกอบและปัจจัยทางสถาปัตยกรรมที่ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมมนุษย์
ศึกษากายวิภาคมนุษย์ ขนาดสัดส่วนของมนุษย์ มีความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพของสถาปัตยกรรมภายในและพื้นฐานเกี่ยวกับจิตวิทยาองค์ประกอบและปัจจัยทางสถาปัตยกรรมที่ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมมนุษย์
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
-   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา    2.   สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
3.   สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ใช้การบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน โดยมุ่งเน้นทั้งหลักสูตรทางทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ในการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริงและให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2. งานที่ได้รับมอบหมาย
1. มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในด้านวิชาชีพ 
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน มุ่งเน้นให้นักศึกษารู้จักวิเคราะห์องค์ประกอบของสถานการณ์ต่างๆ เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกวิเคราะห์แนวทางแก้ไขให้ถูกต้อง
ประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงานการปฏิบัติของนักศึกษา
1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
       1.  สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
       2.  มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
       3.  มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
       4.  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
1.  ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2.  ประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
สร้างกิจกรรม Active Learning /Flipped Classroom ที่นักศึกษาต้องติดต่อสื่อสาร ค้นคว้าหาข้อมูลและนำเสนอผลจากการค้นคว้าโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษาในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร ในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล ในการนำเสนอผลงาน
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุณธรรม จริยธรรม 2 ความรู้ 3 ทักษะทางปัญญา 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6 ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BARIA201 การยศาสตร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ความรู้ - ประเมินผลจากคะแนนเก็บตลอดทุกสัปดาห์ - วัดผลและให้คะแนนจากการส่งงานตรงต่อเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 40%
2 ทักษะทางปัญญา - วัดผลจาก งานสอบกลางภาคและปลายภาคโดยเน้นปฏิบัติในการเขียนภาพตามโจทย์ที่กำหนดให้ - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 9 และ 18 (ในการสอบกลางภาคและปลายภาค) ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ - ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอหน้าชั้นเรียน - ประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ ตลอดภาคการศึกษา 15%
4 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษาในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร ในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล ในการนำเสนอผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 15%
- ธวัชชานนท์  สิปปภากุล.
การยศาสตร์และกายวิภาคเชิงกล. - -  กรุงเทพฯ : วารศิลป์, 2548
- บุญเลิศ  บุตรขาว.
กายวิภาค ฉบับนักศึกษาศิลปะ. - - กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 2544
- ผศ.พิชิต  ภูติจันทร์.
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์. - - กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 2545
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
3. ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ดที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
1.   การสังเกตการณ์ของผู้สอน
2.   ผลการเรียนของนักศึกษา
3.   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
1.   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2.   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
1.  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
2.   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
1.   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
2.   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ ความรู้นี้กับปัญหาที่มา จากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ