วางผังเมือง

City Planning

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจวิวัฒนาการในการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ องค์ประกอบเมือง ประเภทและรูปแบบของการวางผังเมือง แนวคิดเรื่องเมืองน่าอยู่ เมืองยั่งยืน ข้อกำหนดและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรมได้
เพื่อให้นักศึกษาได้มีทักษะในการฝึกปฏิบัติออกแบบหรือปรับปรุงผังพื้นที่เฉพาะ หรือชุมชนขนาดเล็ก
เพื่อให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงความสำคัญของเมืองและการวางผังเมือง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรมที่ร่วมสร้างสรรค์เมืองให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี
เพื่อพัฒนาเนื้อหาของวิชาให้มีความทันสมัย พัฒนาวิธีการและกิจกรรมการเรียนการสอน ที่สอดคล้องกับความเป็นเมืองในสถานการณ์ปัจจุบัน จึงได้ทำการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา BARAT406 วางผังเมือง ดังนี้
2.1 ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
ข้อ 3 (ความรับผิดชอบรอง) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
2.2 ด้านความรู้
ข้อ 1 (ความรับผิดชอบหลัก) มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่เกี่ยวกับสถาปัตยกรรมศาสตร์
ข้อ 2 (ความรับผิดชอบรอง) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์
ข้อ 3 (ความรับผิดชอบหลัก) สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษาในสถาปัตยกรรมศาสตร์กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2.3 ด้านทักษะทางปัญญา
ข้อ 1 (ความรับผิดชอบหลัก) มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
ข้อ 2 (ความรับผิดชอบหลัก) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
2.4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ข้อ 3 (ความรับผิดชอบรอง) สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
ข้อ 4 (ความรับผิดชอบรอง) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
2.5 ด้านทักษะพิสัย
ข้อ 2 (ความรับผิดชอบหลัก) มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
ข้อ 3 (ความรับผิดชอบหลัก) มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
ศึกษาวิวัฒนาการในการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ องค์ประกอบเมือง ประเภทและรูปแบบของการวาง ผังเมือง เมืองน่าอยู่ เมืองยั่งยืน ข้อกำหนดและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฝึกปฏิบัติการออกแบบหรือปรับปรุงผังพื้นที่เฉพาะ หรือชุมชนขนาดเล็ก
Study of the evolution of human settlement, city components, types and patterns of city planning, Livable City, Sustainable City, Relevant laws and regulations. Practice of design or improvements of some specific areas or a small community.
- อาจารย์ประจำวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษา
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
ข้อ 3 (ความรับผิดชอบรอง) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
กำหนดกติกาการเข้าเรียนและการส่งงาน ให้ความสำคัญและสร้างความตระหนักในบทบาทสถาปนิกที่ควรจะมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม เมืองและสิ่งแวดล้อม
พฤติกรรมการเข้าเรียน การส่งงานตรงตามเวลาที่กำหนด และความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
ข้อ 1 (ความรับผิดชอบหลัก) มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่เกี่ยวกับสถาปัตยกรรมศาสตร์
ข้อ 2 (ความรับผิดชอบรอง) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์
ข้อ 3 (ความรับผิดชอบหลัก) สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษาในสถาปัตยกรรมศาสตร์กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 สอนความรู้ด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติ ในวิวัฒนาการการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ องค์ประกอบเมือง ประเภทและรูปแบบการวางผังเมือง แนวคิดเรื่องเมือง ข้อกำหนดและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง สร้างความเข้าใจร่วมกันด้วยการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชั้นเรียน
2.2.2 มอบหมายให้ติดตามความก้าวหน้าด้านการวางผังเมือง และเทคโนโลยีในการวางผัง
2.2.3 บูรณาการความรู้ด้านการวางผังเมือง กับมิติด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง รวมทั้งบูรณาการเข้ากับศาสตร์ด้านสถาปัตยกรรม
2.3.1 ประเมินจากการสอบทฤษฎี วัดความรู้ ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎี
2.3.2 ประเมินจากการสอบทฤษฎี ด้วยข้อสอบที่เป็นสถานการณ์ความก้าวหน้าด้านการวางผังเมือง
2.3.2 ประเมินจากการสอบทฤษฎี วัดความคิด ความเข้าใจ ความสามารถในการบูรณาการความรู้ด้านการวางผังเมือง กับมิติต่างๆ ของเมืองและความรู้ด้านสถาปัตยกรรมศาสตร์
ข้อ 1 (ความรับผิดชอบหลัก) มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
ข้อ 2 (ความรับผิดชอบหลัก) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการประยุกต์ความรู้ด้านการวางผังเมืองกับวิชาชีพสถาปัตยกรรม
3.2.2 ให้นักศึกษาฝึกทักษะนำความรู้ด้านการวางผังเมืองมาใช้อย่างเป็นระบบ
3.3.1 ประเมินจากงานที่มอบหมายให้ทำในแต่ละหัวข้อของบทเรียน หรือการสอบทฤษฎี
3.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมายให้ทำในแต่ละหัวข้อของบทเรียน หรือการสอบทฤษฎี
ข้อ 3 (ความรับผิดชอบรอง) สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
ข้อ 4 (ความรับผิดชอบรอง) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 มอบหมายงานระบบทีม
4.2.2 มอบหมายงานค้นคว้าและฝึกปฏิบัติในพื้นที่ชุมชน หรือเมือง ในประเด็นที่กำลังเป็นความต้องการของสังคม
4.3.1 ประเมินจากบทบาทของนักศึกษาในกลุ่ม และผลสำเร็จของงานกลุ่ม
4.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการทำงานเพื่อสังคม
-
-
-
ข้อ 2 (ความรับผิดชอบหลัก) มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
ข้อ 3 (ความรับผิดชอบหลัก) มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
  6.2.1  ให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติการวางผังพื้นเฉพาะ หรือพื้นที่ขนาดเล็ก เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้นำเสนอแนวคิดและทำการวางผังได้ด้วยตนเอง
  6.2.2   ให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติการสำรวจข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล นำเสนอแนวความคิด และสร้างสรรค์ผลงาน
6.3.1 ประเมินจากผลงานวางผังพื้นที่เฉพาะ หรือพื้นที่ขนาดเล็กของเมืองหรือชุมชน
6.3.2 ประเมินจากผลงานที่สร้างสรรค์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BARAT406 วางผังเมือง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน/พฤติกรรมในชั้นเรียน/การส่งงานตรงเวลา 1-17 10%
2 ความรู้ สอบทฤษฎีกลางภาค สอบทฤษฎีปลายภาค 9, 17 25 %
3 ทักษะทางปัญญา สอบทฤษฎีกลางภาค และงานที่มอบหมาย สอบทฤษฎีปลายภาค และงานที่มอบหมาย 9, 17 25 %
4 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ การมีส่วนร่วมในการทำงานวางผังพื้นที่เฉพาะ หรือชุมชนขนาดเล็ก 16-17 10%
5 ทักษะพิสัย ผลงานการวางผังพื้นที่เฉพาะ หรือชุมชนขนาดเล็ก 16-17 30 %
 
วิวัฒนาการในการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์
วรรณรินทร์ พัฒนะเอก, วิวัฒนาการชุมชนและการผังเมือง, 2548.
องค์ประกอบเมือง
โชคอนันต์ วาณิชย์เลิศธนาสาร การวิเคราะห์พื้นที่เมืองเก่าเชียงใหม่ตามกรอบคิดจินตภาพเมือง
เพื่อส่งเสริมโครงสร้างจินตภาพเมืองเพื่อการท่องเที่ยว. ประชุมวิชาการ BERAC 8, /2560.
Kevin Lynch, The Image of the City, The M.I.T. Press, London, 1960.
ประเภทและรูปแบบของการวางผังเมือง
เมืองน่าอยู่
Hugh Barton & Catherine Tsourou, Healthy Urban Planning, London, 2000.
เมืองยั่งยืน
ดวงจันทร์ อาภาวัชรุตม์ เจริญเมือง , เมืองยั่งยืนในเชียงใหม่ : แนวคิดและประสบการณ์ของเมือง
ในหุบเขา , หจก.เชียงใหม่โรงพิมพ์แสงศิลป์ เชียงใหม่, 2548.
ข้อกำหนดและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2562
พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
กฎกระทรวงผังเมืองจังหวัดเชียงใหม่
กฎกระทรวงผังเมืองรวมเมืองเชียงใหม่
กฎกระทรวง และ ข้อบัญญัติท้องถิ่นที่ใช้ในจังหวัดเชียงใหม่
สยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์ ทนายวัฒนธรรม: ใช้กฎหมายเพื่อคุ้มครองมรดก
วัฒนธรรมชุมชน. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์, 2561.
ห้องการมรดกและองค์การ UNESCO แผนผังปกปักรักษาและทำให้มีคุณค่า
Luang Prabang Urban Regulation. Heritage Preservation and
Devlopment Master Plan, ๒๐๐๑
การออกแบบหรือปรับปรุงผังพื้นที่เฉพาะหรือชุมชนขนาดเล็ก
ชูวิทย์ สุจฉายา การอนุรักษ์เมือง Urban Conservation. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพ: บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด, 2552.
ปรานอม ตันสุขานันท์, การอนุรักษ์ชุมชนเมือง, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 2556.
ยงธนิศร์ พิมลเสถียร, การปรับปรุงฟื้นฟูเมืองและการอนุรักษ์เมือง,
สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2556.
องุ่นทิพย์ ศรีสุวรรณ, การวางผังชุมชนเมืองเบื้องต้น, 2546.
-
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น
htpp://th.wigipedia.org/wiki/ผังเมือง
www.dpt.go.th
www.bma-cpd.go.th
www.thaiplanners.or.th
unesco world heritage sites
http://whc.unesco.org/en/committee/
-สอบถามนักศึกษาถึงจุดอ่อน จุดแข็งของรายวิชาและสิ่งที่ต้องการให้ปรับปรุง
 
-แบบประเมินการสอน
 
-นำผลการประเมินการสอนมาปรับปรุงในจุดอ่อน
-พัฒนาเนื้อหา สื่อการสอน ให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากขึ้น
-การทวนสอบคะแนนของนักศึกษา
-ตั้งคณะกรรมการในสาขาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
-ปรับปรุงแผนการสอนทุกปี
-ปรับปรุงรายวิชา ตามรอบการปรับปรุงหลักสูตรทุก 5 ปี