การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ

Object Oriented Programming

1.   วัตถุประสงค์ของรายวิชา   :  เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ  ดังนี้      - มีความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี Object Oriented      - มีความรู้ ความเข้าใจองค์ประกอบต่างๆ ของเทคโนโลยี Object Oriented อย่างถูกต้อง      - สามารถนำเทคโนโลยี Object Oriented ไปประยุกต์ในชีวิตประจำวันได้
2.  วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา:   เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ทางการเขียนโปรแกรม เชิงวัตถุพื้นฐาน เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการแก้ปัญหา สามารถนำความรู้ ความเข้าใจ ในรายวิชามาเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และเพื่อให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย เพื่อประกอบอาชีพในอนาคตของนักศึกษาต่อไป
ศึกษาองค์ประกอบของการเขียนโปรแกรมตามแนวคิดเชิงวัตถุ เช่น คลาส ออบเจ็กต์ แอตทริ บิวท์ เมธอด การสืบทอดคุณสมบัติ โพลีมอร์ฟิซึม เป็นต้น ฝึกปฏิบัติการเขียนโปรแกรมบน สภาพแวดล้อมแบบต่าง ๆ เช่น การเขียนโปรแกรมบนระบบวินโดวส์ การเขียนโปรแกรมบนระบบ เว็บ เพื่อเรียกใช้งานไลบรารีฟังก์ชันและเอพีไอของภาษาของระบบ โดยใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ โดยใช้ส่วนติดต่อประสานโปรแกรมประยุกต์ (API)
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) โดยการติดประกาศไว้ที่บอร์ดหน้าห้องพักอาจารย์ และสอนเสริม       3.1 วันพุธ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ             โทร.  055-298438 ต่อ 1151                  3.2  e-mail; E-mail.  jakkapan@rmutl.ac.th  เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)     
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)  
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing 
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning) 
8. การสอนแบบบรรยาย
9. การสอบแบบออนไลน์ 
การสังเกต
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)     
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)  
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing 
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning) 
8. การสอนแบบบรรยาย
9. การสอบแบบออนไลน์
การสังเกต
1. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ

 
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)     
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)  
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing 
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning) 
8. การสอนแบบบรรยาย
9. การสอบแบบออนไลน์
การสังเกต
1.  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2.  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม

 
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)     
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)  
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing 
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning) 
8. การสอนแบบบรรยาย
9. การสอบแบบออนไลน์
การสังเกต
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)     
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)  
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing 
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning) 
8. การสอนแบบบรรยาย
9. การสอบแบบออนไลน์
การสังเกต
1. สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง 2. สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ 3. สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)     
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)  
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing 
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning) 
8. การสอนแบบบรรยาย
9. การสอบแบบออนไลน์
การสังเกต
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสือสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4
1 BSCCT502 การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 4.1 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 10%
2 1.3, 4.1 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
3 2.1, 3.2 การสอบกลางภาค 8 30%
4 1.3, 5.2 การนำเสนองาน/การรายงาน/แบบฝึกหัด 14 10%
5 2.1, 3.2 การสอบปลายภาค 16 30 %
รศ.ศรีบุตร แววเจริญ และ ผศ.ดร.ชนศักดิ์  บ่ายเที่ยง คณิตศาสตร์วิศวกรรมและวิทยาศาสตร์ เล่ม 7 กรุงเทพฯ : พิมพ์ครั้งที่ 1 บริษัทวงตะวัน จำกัด. 2544. คณะอาจารย์สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, แคลคูลัสและเรขาคณิตวิเคราะห์ 1 กรุงเทพฯ : สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2544. John Thomas, Thomas’ Calculus, Pearson education Indochina ltd , 2005. Monty J. Strauss, Gerald L. Bradley and Karl J.Smith., Calculus. 3rd Edition, Prentice-Hall Inc., 2002.
https://www.yiiframework.com/
https://github.com/
https://getcomposer.org/
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1  การถาม ตอบระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
1.3 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาแบ่งกลุ่มทำแบบฝึกหัดท้ายชั่วโมง
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน ผลการสอบ
การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ - แลกเปลี่ยนความคิดเห็นของทีมผู้สอน - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือ ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ