ออกแบบทัศนศิลป์
Visual Design
เพื่อให้นักศึกษารู้จักทฤษฎีของการออกแบบจัดองค์ประกอบศิลป์ในทัศนธาตุต่างๆ มีทักษะในการจัดองค์ประกอบทั้งงาน 2 มิติและ 3 มิติ มีทักษะในการผสมผสานงานทัศนศิลป์ทุกแขนง มีความซาบซึ้งและตระหนักในคุณค่าของงานองค์ประกอบศิลป์ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ต่อไป
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เกี่ยวกับองค์ประกอบศิลป์ทางงานสถาปัตยกรรม เพื่อเป็นพื้นฐานในการเรียนวิชาอื่นๆในหลักสูตรวิชาสถาปัตยกรรมต่อไป พร้อมทั้งเพิ่มแนวคิดรวมถึงตัวอย่างประกอบการเรียนให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และสถานการณ์ปัจจุบัน โดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบ
ศึกษาเกี่ยวกับองค์ประกอบมูลฐานและหลักการออกแบบทางศิลปะ ภาษาภาพ แนวคิดและแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ ฝึกปฎิบัติการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ 2 มิติ และ 3 มิติ
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่าน Social Media โดยผู้สอนได้ตั้งกลุ่มขึ้น เพื่อใช้สื่อสารระหว่างผู้เรียน
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
- อาจารย์ประจำรายวิชาสามารถให้คำปรึกษาด้วยระบบออนไลน์ได้
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
- อาจารย์ประจำรายวิชาสามารถให้คำปรึกษาด้วยระบบออนไลน์ได้
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบมีวินัย เป็นสถาปนิกนักปฏิบัติที่มีความซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อสังคม โดยมีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณตามคุณสมบัติของหลักสูตรดังนี้
1.1.1 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.1 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.2.1 อบรมเรื่องคุณธรรมจริยธรรมให้แก่นักศึกษาก่อนสอนเป็นเวลา 5 นาทีก่อนสอนทุกสัปดาห์
1.2.2 จัดกลุ่มนักศึกษาช่วยงานประจำสัปดาห์
1.2.3 จัดให้นักศึกษาส่งงานที่ทำเสร็จแล้วด้วยตัวเอง ณ ชั้นส่งผลงานที่ผู้สอนจัดไว้ให้
1.2.4 จัดกลุ่มนักศึกษาเพื่อดูแลเรื่องความสะอาด ก่อนเรียนและหลังเลิกเรียน
1.2.2 จัดกลุ่มนักศึกษาช่วยงานประจำสัปดาห์
1.2.3 จัดให้นักศึกษาส่งงานที่ทำเสร็จแล้วด้วยตัวเอง ณ ชั้นส่งผลงานที่ผู้สอนจัดไว้ให้
1.2.4 จัดกลุ่มนักศึกษาเพื่อดูแลเรื่องความสะอาด ก่อนเรียนและหลังเลิกเรียน
1.3.1 ประเมินผลจากการส่งงานตรงตามเวลาที่กำหนด
1.3.2 สังเกตจากการช่วยเหลือในการจัดเตรียมอุปกรณ์การสอนของนักศึกษาในแต่ละสัปดาห์
1.3.3 ประเมินจากสภาพภายในห้องเรียนก่อนสอน และหากนักศึกษาที่ได้รับมอบหมายให้ดูแล ไม่ปฏิบัติหน้าที่ ผู้สอนจะหักคะแนนจิตพิสัย
1.3.2 สังเกตจากการช่วยเหลือในการจัดเตรียมอุปกรณ์การสอนของนักศึกษาในแต่ละสัปดาห์
1.3.3 ประเมินจากสภาพภายในห้องเรียนก่อนสอน และหากนักศึกษาที่ได้รับมอบหมายให้ดูแล ไม่ปฏิบัติหน้าที่ ผู้สอนจะหักคะแนนจิตพิสัย
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏี และหลักการปฏิบัติ ในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้า ทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้า ทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 อธิบายวิธีการ ขั้นตอนต่าง ๆ เกี่ยวกับเทคนิคการวิธีการจัดองค์ประกอบทางศิลปะ การออกแบบเบื้องต้น โดยใช้องค์ประกอบมูลฐานหลักการออกแบบทางศิลปะเพื่อสร้างสรรค์งาน 2 มิติและ 3 มิติ
2.2.2 ฝึกปฏิบัติการจัดองค์ประกอบทางศิลปะ การออกแบบเบื้องต้น โดยใช้องค์ประกอบมูลฐานหลักการออกแบบทางศิลปะเพื่อสร้างสรรค์งาน 2 มิติและ 3 มิติ
2.2.3 ฝึกวิจารณ์ผลงานการออกแบบเบื้องต้น โดยใช้องค์ประกอบมูลฐานหลักการออกแบบทางศิลปะเพื่อสร้างสรรค์งาน 2 มิติและ 3 มิติ ของเพื่อนร่วมชั้นเรียน
2.2.4 มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้า ศึกษาเพิ่มเติมผลงานการจัดองค์ประกอบศิลปะ ใน website ที่เกี่ยวข้อง ก่อนการเรียน
2.2.5 มอบหมายให้นักศึกษาดูงานนิทรรศการศิลปะต่างๆที่จัดขึ้น
2.2.2 ฝึกปฏิบัติการจัดองค์ประกอบทางศิลปะ การออกแบบเบื้องต้น โดยใช้องค์ประกอบมูลฐานหลักการออกแบบทางศิลปะเพื่อสร้างสรรค์งาน 2 มิติและ 3 มิติ
2.2.3 ฝึกวิจารณ์ผลงานการออกแบบเบื้องต้น โดยใช้องค์ประกอบมูลฐานหลักการออกแบบทางศิลปะเพื่อสร้างสรรค์งาน 2 มิติและ 3 มิติ ของเพื่อนร่วมชั้นเรียน
2.2.4 มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้า ศึกษาเพิ่มเติมผลงานการจัดองค์ประกอบศิลปะ ใน website ที่เกี่ยวข้อง ก่อนการเรียน
2.2.5 มอบหมายให้นักศึกษาดูงานนิทรรศการศิลปะต่างๆที่จัดขึ้น
2.3.1 ตรวจผลงานของนักศึกษาทุกสัปดาห์ด้วยการมีส่วนร่วมของนักศึกษาทุกคนในการคัดกรอกผลงานตามกลุ่ม
2.3.2 ตรวจให้คะแนนจากผลงาน
2.3.3 ประเมินและให้คะแนน การส่งงานตรงตามเวลาที่กำหนด
2.3.4 นักศึกษาต้องนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าจาก website ตลอดจนดูงานด้านศิลปะ หน้าชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกัน
2.3.2 ตรวจให้คะแนนจากผลงาน
2.3.3 ประเมินและให้คะแนน การส่งงานตรงตามเวลาที่กำหนด
2.3.4 นักศึกษาต้องนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าจาก website ตลอดจนดูงานด้านศิลปะ หน้าชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกัน
3.1 พัฒนาให้เกิดความคิดสร้างสรรค์และมีความสามารถมองเห็นคุณค่าทางความงามของงานที่นำเสนอ
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้ความคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้ความคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 อธิบายพร้อมยกตัวอย่างการนำความรู้เรื่ององค์ประกอบศิลปะ ไปประยุกต์ใช้ในการประกอบวิชาชีพ
3.2.2 ฝึกปฏิบัติตามบทเรียนที่กำหนดให้ในแต่ละสัปดาห์
3.2.2 ฝึกปฏิบัติให้นักศึกษาจัดองค์ประกอบมูลฐานด้วยหลักการออกแบบทางศิลปะ เพื่อสร้างสรรค์งาน 2 มิติและ 3 มิติ
3.2.3 ฝึกให้นักศึกษาฝึกหัดวิจารณ์ผลงานของเพื่อนในกลุ่ม social media
3.2.2 ฝึกปฏิบัติตามบทเรียนที่กำหนดให้ในแต่ละสัปดาห์
3.2.2 ฝึกปฏิบัติให้นักศึกษาจัดองค์ประกอบมูลฐานด้วยหลักการออกแบบทางศิลปะ เพื่อสร้างสรรค์งาน 2 มิติและ 3 มิติ
3.2.3 ฝึกให้นักศึกษาฝึกหัดวิจารณ์ผลงานของเพื่อนในกลุ่ม social media
3.3.1 วัดผลจาก งานสอบกลางภาคและปลายภาคโดยเน้นปฏิบัติในการจัดองค์ประกอบมูลฐานด้วยหลักการออกแบบทางศิลปะ เพื่อสร้างสรรค์งาน 2 มิติและ 3 มิติ
3.3.2 ประเมินผลจากคะแนนเก็บตลอดทุกสัปดาห์
3.3.3 วัดผลและให้คะแนนจากการวิจารณ์ผลงานของเพื่อนในกลุ่ม social media
3.3.2 ประเมินผลจากคะแนนเก็บตลอดทุกสัปดาห์
3.3.3 วัดผลและให้คะแนนจากการวิจารณ์ผลงานของเพื่อนในกลุ่ม social media
4.1.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2.1 สอดแทรกเรื่องเกี่ยวกับการทำงานร่วมกัน การมีมารยาทในสังคม ยอมรับข้อคิดเห็นและเคารพสิทธิของเพื่อนภายในกลุ่ม
4.2.2 มอบหมายงานและจัดกิจกรรมให้มีการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
4.2.2 มอบหมายงานและจัดกิจกรรมให้มีการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
4.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน
4.3.2 วัดผลจากผลงานที่นำเสนอในแต่ละครั้ง
4.3.2 วัดผลจากผลงานที่นำเสนอในแต่ละครั้ง
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2.1 ฝึกปฏิบัติงานในแต่ละสัปดาห์ โดยสอดแทรกเทคโนโลยีในการออกแบบงาน และเปิดโอกาสให้น.ศ.สามารถค้นคว้างานด้วยเทคโนโลยีได้
5.3.1 ประเมินได้จากงานที่ได้มอบหมายในแต่ละสัปดาห์ และเทคนิคการนำเสนองาน
6.1.1 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
6.2.1 อธิบายงานและเนื้อหาที่ทำการสอนในแต่ละสัปดาห์
6.2.2 มอบหมายงานให้ออกแบบ โดยกำหนดหัวข้องานในแต่ละสัปดาห์อย่างชัดเจน
6.2.2 มอบหมายงานให้ออกแบบ โดยกำหนดหัวข้องานในแต่ละสัปดาห์อย่างชัดเจน
6.3.1 ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6. ทักษะพิสัย | 1. คุณธรรมและจริยธรรม | 2. ความรู้ | ||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 |
1 | BARCC403 | ออกแบบทัศนศิลป์ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | ด้านคุณธรรมจริยธรรม | - การเข้าชั้นเรียน - การส่งงานตรงต่อเวลา | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
2 | ด้านความรู้ | - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค | 9, 18 | 15%, 15% |
3 | ด้านทักษะทางปัญญา | - ปฏิบัติงานในแต่ละสัปดาห์ - การนำเสนอผลงาน และวิเคราะห์ผลงาน - การส่งงานตามที่มอบหมาย | ตลอดภาคการศึกษา | 30% |
4 | ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | - จัดกลุ่มมอบหมายงาน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
5 | ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | - การมอบหมายงานในการค้นคว้า ด้วยเทคโนโลยี - หารใช้เทคนิคในการช่วย | ตลอดภาคการศึกษา | 5% |
6 | ทักษะพิสัย | - การนำเสนองานปฏิบัติที่ได้รับมอบหมาย | 17 | 15% |
องค์ประกอบศิลป์ ของชะลูด นิ่มเสมอ
ออกแบบเบื้องต้น BASIC DESIGN ของ นพวรรณ หมั้นทรัพย์
ความเข้าใจในศิลปะ ของ วิรัตน์ พิชญไพบูลย์
พจนานุกรมศัพท์ศิลป อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
ความรู้ทั่วไปของศิลป ของโชดก เก่งเขตกิจ
ออกแบบลวดลาย ORNAMENT DESIGN ของสิทธิศักดิ์ ธัญศรีสวัสดิกุ
ออกแบบเบื้องต้น BASIC DESIGN ของ นพวรรณ หมั้นทรัพย์
ความเข้าใจในศิลปะ ของ วิรัตน์ พิชญไพบูลย์
พจนานุกรมศัพท์ศิลป อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
ความรู้ทั่วไปของศิลป ของโชดก เก่งเขตกิจ
ออกแบบลวดลาย ORNAMENT DESIGN ของสิทธิศักดิ์ ธัญศรีสวัสดิกุ
-
เว็บไซด์ที่เกี่ยวกับงานศิลปะ
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.3 การสร้างโจทย์ใหม่ๆในแต่ละหัวข้อการศึกษาให้นักศึกษา เพื่อให้นักศึกษาเกิดความน่าสนใจ สนุกสนาน และท้าทายการพัฒนาทักษะของตนเอง
3.4 จากการบรรยายด้วยระบบออนไลน์ สิ่งที่พบคือความสนใจต่อการฟังบรรยายของนักศึกษาลดลงเนื่องจากนักศึกษาไม่ยอมเปิดกล้องเพื่อให้เห็นปฎิกริยาต่างๆ ดังนั้นจึงต้องให้นักศึกษาทุกคนบังคับเปิดกล้องเพื่อให้เห็นปฎิกริยาต่างๆ และพยายามให้นักศึกษาฝึกการถาม การแสดงออกด้วยระบบการเรียนแบบออนไลน์
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.3 การสร้างโจทย์ใหม่ๆในแต่ละหัวข้อการศึกษาให้นักศึกษา เพื่อให้นักศึกษาเกิดความน่าสนใจ สนุกสนาน และท้าทายการพัฒนาทักษะของตนเอง
3.4 จากการบรรยายด้วยระบบออนไลน์ สิ่งที่พบคือความสนใจต่อการฟังบรรยายของนักศึกษาลดลงเนื่องจากนักศึกษาไม่ยอมเปิดกล้องเพื่อให้เห็นปฎิกริยาต่างๆ ดังนั้นจึงต้องให้นักศึกษาทุกคนบังคับเปิดกล้องเพื่อให้เห็นปฎิกริยาต่างๆ และพยายามให้นักศึกษาฝึกการถาม การแสดงออกด้วยระบบการเรียนแบบออนไลน์
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชา หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.1 ปรับปรุงรายวิชา หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ