เทคโนโลยีสถาปัตยกรรมภายใน 2

Interior Architectural Technology 2

                 ให้นักศึกษาเข้าใจถึงการเขียนแบบงานสถาปัตยกรรมภายในประเภทอาคารสาธารณะ หลักการเขียนแบบ งานโครงสร้าง และการขยายแบบ เครื่องเรือน ลอยตัวและแบบติดตั้ง โดยฝึกปฏิบัติการเขียนแบบ ด้วยเครื่องมือเขียนแบบและมีการศึกษาดูงาน
              ไม่มี
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการเขียนแบบงานสถาปัตยกรรมภายในประเภทอาคาร สาธารณะ หลักการเขียนแบบ งานโครงสร้าง และการขยายแบบ เครื่องเรือน ลอยตัวและแบบติดตั้ง ด้วยเครื่องมือเขียนแบบ และมีการศึกษาดูงาน
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาหน้าชั้นเรียน
 -  อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 3  ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีวินัย  ขยัน  อดทน ตรงต่อเวลา  และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง     สังคมและ สิ่งแวดล้อม
1.2.1 บรรยายพร้อมสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรม ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ
1.2.2 วิธีการเขียนแบบด้วยเครื่องมือเขียนแบบ ให้นักศึกษาเรียนรู้ด้วยการฝึกปฏิบัติการเขียนแบบโดย ผู้สอนกำหนดให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติตามตัวอย่างที่กำหนด ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม และสิ่งแวดล้อม 
1.3.1  ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
1.3.2   ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
1.3.3   ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
1.3.4   ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2.2.1    มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2.2   สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
 2.2.1 บรรยายพร้อมวิธีการวิเคราะห์โครงสร้าง   วิธีการเขียนแบบด้วยเครื่องมือปฏิบัติการเขียนแบบ
2.2.2 นักศึกษาฟังบรรยายเรียนรู้และปฏิบัติตามผู้สอน โดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและการ ประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
2.2.3 กำหนดให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติตามตัวอย่าง
2.2.4 การศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   วัดพฤติกรรมการเข้าเรียน
2.3.3   วัดผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลามีการสอบวัดประเมินผล
2.3.4   ประเมินจากแผนการดำเนินงานโครงงาน
3.1.1   มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2    มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
 3.2.1 บรรยายพร้อมวิธีการวิเคราะห์โครงสร้าง   วิธีการเขียนแบบด้วยเครื่องมือปฏิบัติการเขียนแบบ
3.2.2 นักศึกษาฟังบรรยายเรียนรู้และปฏิบัติตาม ผู้สอน
3.2.3 กำหนดให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติตามตัวอย่าง
3.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
3.3.2  วัดพฤติกรรมการเข้าเรียน
3.3.3 วัดผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลามีการสอบวัดประเมินผล
3.3.4 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1    มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.2.1จัดกิจกรรมกลุ่มโดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำและผู้ตามการเคารพสิทธิและการยอมรับ ความคิดเห็นของผู้อื่น
4.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน
4.3.2 ประเมินจากผลงานกลุ่มในชั้นเรียน
4.3.3  ประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
 5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 5.2.1 ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม
5.2.2 บรรยาย และให้นักศึกษาเรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยี สารสนเทศให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล



5.2.3 การบรรยายภาษาไทย และให้นักศึกษาเขียนผลงานจากตัวอย่างเป็นภาษาต่างประเทศ
5.3.1ประเมินการเลือกใช้เครื่องมือ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
5.3.2  ประเมินจากการอธิบาย การนำเสนอ
 6.1.1  มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
6.1.2  มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
 6.2.1   บรรยายและให้นักศึกษาคัดลอกแบบ ทำตามแบบและใบงาน
 6.2.2   ศึกษาจากกรณีศึกษา เพื่อให้สามารถสร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
6.3.1  ประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BARIA304 เทคโนโลยีสถาปัตยกรรมภายใน 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม 1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม 1.3.2 ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร 1.3.3 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ 1.3.4 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 1,2 3-11,12-16 10%
2 ความรู้ 2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี 2.3.2 วัดพฤติกรรมการเข้าเรียน 2.3.3 วัดผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลามีการสอบวัดประเมินผล 2.3.4 ประเมินจากแผนการดำเนินงานโครงงาน 1,2 3-11,12-16 25%
3 ทักษะทางปัญญา 3.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี 3.3.2 วัดพฤติกรรมการเข้าเรียน 3.3.3 วัดผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลามีการสอบวัดประเมินผล 3.3.4 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา 1,2 3-11,12-16 25%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน 4.3.2 ประเมินจากผลงานกลุ่มในชั้นเรียน 4.3.3 ประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ ตลอดภาคการศึกษา 10%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.3.1 ประเมินการเลือกใช้เครื่องมือ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม 5.3.2 ประเมินจากการอธิบาย การนำเสนอ 1,2 3-11,12-16 10%
7 ทักษะพิสัย 6.3.1 ประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 20%
 


1. กฤษฎา อินทรสถิตย์. (2003). การเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน.
2. นภาพรรณ สุทธะพินทุ. (2556). ออกแบบตกแต่งภายใน. กรุงเทพฯ: สำนำพิมพ์ ส.ส.ท.
www.pktc.ac.th/mnfile/branch4/gile/CHOT/1102Unit11-4.pdf
 


3. เอกสาร และข้อมูลแนะนำ
1. www.teacher.ssru.ac.th/korkiat_ni/pluginfile.php/47/mod_page/content/39/การเขียนแบบก่อสร้าง.pdf
2.การเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน https://www.pea.co.th/Webapplications/tor/Attachments/e46b5755-a66e-4511-ac97-ca00623cdd51/02-ID%20%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%99.pdf  


 
 
 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
            4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
            4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
           5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
           5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือด้านสถาปัตยกรรม,สถาปัตยกรรมภายใน