ระเบียบวิธีวิจัยศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์

Research Methodology in Art and Creative Design

รู้และเข้าใจเกี่ยวกับระเบียบวิธีวิจัยทางด้านศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์   รู้และเข้าใจเกี่ยวกับประเภทของการวิจัย รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเครื่องมือและการตรวจสอบคุณภาพ รู้และเข้าใจเกี่ยวกการกำหนดสถิติเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล มีทักษะในการเขียนโครงร่างรายงานการวิจัย และการเขียนบทความวิจัย
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับระเบียบวิธีวิจัยทางด้านศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์ และการเขียนโครงร่างรายงานการวิจัย และการเขียนบทความวิจัยให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านศิลปะและการออกแบบที่มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาและฝึกปฏิบัติ เกี่ยวกับระเบียบวิธีวิจัยทางด้านศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์  ประเภทของการวิจัย การทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง การสร้างเครื่องมือและการตรวจสอบคุณภาพ การกำหนดสถิติเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล การเขียนโครงร่างรายงานการวิจัย และการเขียนบทความวิจัย
 -    อาจารย์ประจำรายวิชา แจ้งนศ.ให้รับทราบในชั่วโมงแรกของการเรียน
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม  จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยันอดทน ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
1.3.1    พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2    มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน
2.1.1    มีความสามารถในการวิเคราะห์และสังเคราะห์หลักการและทฤษฎีสำคัญในเนื้อหา
ด้านการออกแบบสร้างสรรค์ขั้นสูงได้
            2.1.2    สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
            2.1.3    สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และให้
คำปรึกษาด้านการสร้างสรรค์ผลงานแก่ผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
2.2.1   บรรยาย  ยกตัวอย่าง และปฏิบัติงานโครงงาน Problem – based Learning
2.2.2   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองและจัดทำรายงาน
2.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการปฏิบัติงาน หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
3.1.1   มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2   มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
บรรยาย และการให้นักศึกษาปฏิบัติทำวิทยานิพนธ์วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาจาก Problem – based Learning ที่นักศึกษาสนใจ
3.3.1   สอบปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการทำวิทยานิพนธ์
3.3.2   ประเมินจากการปฏิบัติงาน หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2   มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3   สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.14    สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.2   การนำเสนอรายงาน และอภิปรายร่วมกัน
4.3.1  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2  ประเมินจากงานที่มอบหมาย  
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2   สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3   สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
-
-
-
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม การเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน ตลอดภาคการศึกษา 10 %
2 ความรู้ สอบกลางภาค สอบปลายภาค โครงงาน (Problem -Based Learning) 9 17 2-8,10 15 % 15 % 10 %
3 ทักษะทางปัญญา สอบปลายภาค ปฏิบัติงานถูกต้องตามขั้นตอน วิเคราะห์ สังเคราะห์อย่างมีระบบ สรุปผล 17 2-8,10 ตลอดภาคการศึกษา 16 30%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ กิจกรรมกลุ่ม การอภิปรายและนำเสนองาน การมีส่วนร่วม การส่งงานตามเวลาที่กำหนด 2-8,10 3,5,7,10 2-8,10 2-8.10 10 %
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี การจัดทำรายงานและวิธีการสืบค้นข้อมูล ทักษะในการสื่อสารข้อมูลและบุคลิกภาพ 3,5,7,10 14 3,5,7,10 10 %
6 - - - -
         นวลน้อย  บุญวงษ์ (2539).  หลักการออกแบบ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
         นิรัช  สุดสังข์ (2548).  การวิจัยการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
         พรสนอง  วงศ์สิงห์ทอง (2545).  วิธีวิทยาการวิจัยการออกแบบผลิตภัณฑ์. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
         ธีระชัย  สุขสด  (2544). การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
     2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
     2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
     3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์