การปรับปรุงพันธุ์สัตว์

Animal Breeding

เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการการถ่ายทอดทางพันธุกรรมในลักษณะคุณภาพและปริมาณของปศุสัตว์ การประมาณพารามิเตอร์ทางพันธุกรรม ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรม วิธีการคัดเลือกและผสมพันธุ์สัตว์ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการปรับปรุงพันธุ์สัตว์เศรษฐกิจประเภทต่าง ๆ
การปรับปรุงพันธุ์สัตว์เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับความสำเร็จในการเลี้ยงสัตว์ ดังนั้นนักศึกษาจึงต้องรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ หลักและวิธีการคัดเลือกและผสมพันธุ์สัตว์เพื่อให้ทันสมัยและสอดคล้องกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์
ศึกษาเกี่ยวกับการถ่ายทอดทางพันธุกรรมในลักษณะคุณภาพและปริมาณของปศุสัตว์ การประมาณพารามิเตอร์ทางพันธุกรรม ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรม วิธีการคัดเลือกและผสมพันธุ์สัตว์ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการปรับปรุงพันธุ์
ตามความต้องการของนักศึกษาเฉพาะราย
1.1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม เป็นความรับผิดชอบรอง
1.1.2  มีจรรยาบรรณ เป็นความรับผิดชอบรอง
-เข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบ
- มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น
- สอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมในการสอน
(1) ประเมินการมีวินัยจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรมที่กำหนด
(2) ประเมินจากความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
(3) ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
(4) ประเมินจากผลงานที่ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่นหรือมีการอ้างอิงเอกสารทางวิชาการเพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของผลงาน
(5) ประเมินจากพฤติกรรมในการทำงานในชั้นเรียนที่ไม่เลือกปฏิบัติและการไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
2.1.1  มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ เป็นความรับผิดชอบหลั
 
- บรรยายประกอบการอภิปรายในด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ พร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่นักศึกษาพบเห็น มีสื่อการสอนต่างๆ เช่น ภาพประกอบทั้งภาพนิ่ง เป็นต้น
- มอบหมายให้อ่านวารสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการปรับกรุงพันธุ์สัตว์พร้อมทั้งเขียนรายงานสรุปในเรื่องที่อ่าน และส่งเป็นการบ้าน
1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
 
3.1.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ เป็นความรับผิดชอบรอง
ในการสอนจะวิเคราะห์ผลจากการทำการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ที่มีต่ออุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ เพื่อให้นักศึกษาได้เข้าใจปัญหาที่เชื่อมโยงกับหลักการหรือทฤษฎีอันเป็นแนวทางสู่การแก้ปัญหาต่างๆ  มอบหมายปัญหาให้นักศึกษาฝึกวิเคราะห์และแก้ปัญหาโดยอิงบนหลักการและ/หรือทฤษฎีอย่างถูกต้อง
 การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือข้อสอบ
 
4.1.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ เป็นความรับผิดชอบรอง
มอบหมายงานให้นักศึกษาทำเป็นกลุ่ม แล้วนำเสนอในชั้นเรียน และต้องแนะนำให้นักศึกษาเข้าใจในการทำงานร่วมกันด้วย งานที่มอบหมายเป็นลักษณะกรณีศึกษาที่เชื่อมโยงการนำความรู้ในวิชาการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ไปใช้ในการช่วยเหลือสังคม
ประเมินจากกระบวนการทำงาน การจัดระบบการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน สังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูล
 
5.1.2  มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นความรับผิดชอบรอง
- กำหนดให้นักศึกษาสืบค้นจากหนังสืออ้างอิงหรือฐานข้อมูลที่เป็นภาษาอังกฤษ
- ให้ค้นคว้าจัดทำรายงานผ่านฐานข้อมูลที่เหมาะสม
- ในการนำเสนอรายงานให้นำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีและเครื่องมือที่เหมาะสม
- ประเมินจากรายงาน หรืองานที่มอบหมายว่ามีการใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลที่เหมาะสมและ ถูกต้อง
- ประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียนโดยเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 4 ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3 ด้านทักษะทางปัญญา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 4.1.1 ภาวะผู้นำ 4.1.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ 5.1.1 มีทักษะการสื่อสาร 5.1.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม 1.1.2 มีจรรยาบรรณ 2.1.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ 2.1.2 มีความรอบรู้ 3.1.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ 3.1.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3.1.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้
1 BSCAG202 การปรับปรุงพันธุ์สัตว์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.1, 1.1.2, 2.1.1, 3.1.3, 4.1.2, 5.1.2 ผลงาน /รายงาน/การทำงานกลุ่ม/การศึกษาอิสระ/งานในห้องปฏิบัติการ ทุกสัปดาห์ 30%
2 2.1.1, 3.1.3, 5.1.2 พฤติกรรมต่างๆ เช่น การร่วมอภิปราย การตอบคำถาม เป็นต้น ทุกสัปดาห์ 10%
3 1.1.1, 1.1.2 การส่งงาน การเข้าชั้นเรียน ความรับผิดชอบ ทุกสัปดาห์ 10%
4 2.1.1, 3.1.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8, 15 50 %
วริษา  สินทวีวรกุล. 2554. การปรับปรุงพันธุ์สัตว์. มทร.ล้านนา ลำปาง
1. สมชัย  จันทร์สว่าง.  2525.  การปรับปรุงพันธุ์สัตว์. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
-แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
-การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
-ผลการทดสอบ
-การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
การทวนสอบผลสัมฤทธิ์จากแบบประเมิน
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพโดยการปรับเนื้อหาให้ทันสมัยเป็นปัจจุบัน