การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

Computer Programming

1.1 เพื่อให้สามารถเข้าใจหลักการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
1.2 สามารถอธิบายองค์ประกอบของประโยคคำสั่งภาษาคอมพิวเตอร์ได้
1.3 สามารถประยุกต์หรือพัฒนาโปรแกรมเบื้องต้นได้
1.4 สามารถวิเคราะห์ตรวจสอบ ทดสอบและแก้ไขข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้
1.5 สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันและปรับใช้กับรายวิชาอื่น ๆ ได้
2.1 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีทักษะศาสตร์การคำนวณ สามารถคิดเป็นระบบ แก้ไขปัญหาด้วยเหตุผล ซึ่งเป็นพื้นฐานการพัฒนาทักษะการเรียนรู้และต่อยอดกับงานด้านอื่นได้
2.2 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ เป็นพื้นฐานการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น
รหัสรายวิชาเดิม :22123102      
วิชาบังคับก่อน   : ไม่มี   
ศึกษาหลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม องค์ประกอบของประโยคคำสั่ง เช่น ตัวแปร ค่าคงที่ เครื่องหมายกระทำการ นิพจน์ ฟังก์ชัน เป็นต้น ชนิดของข้อมูลแบบต่าง ๆ โครงสร้างข้อมูลแบบอาร์เรย์ แบบลิสต์ ศึกษาเกี่ยวกับคำสั่งแบบตามลำดับ เลือกทำ และการวนซ้ำ การสร้างโปรแกรมย่อย การส่งผ่านค่าภายในโปรแกรม การบันทึกและอ่านข้อมูลจากแฟ้มข้อมูล โดยการใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง ฝึกปฏิบัติ การใช้เครื่องมือในการพัฒนาโปรแกรม การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การตรวจสอบ ทดสอบ และแก้ไขโปรแกรม
Principle of computer programing. Elements of statement such as variable, constants, operator, expression, function, data type, array, list, sequence statement, selection and repetition. Sub-program, passing parameters, read and write files by using one of programing languages. Practice tools for developing programing, correcting, testing and debug.
1 ชม. ทุกวันพุธ คาบกิจกรรม 13.30-16.30 น. 
1. มีจริยธรรมทางวิชาการและวิชาชีพตระหนักในคุณค่าและคุณธรรมจริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต
2. มีวินัยตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองวิชาชีพและสังคม
บรรยาย
-ประเมินจากการเข้าใช้เรียน และความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย
- ประเมินจากการสังเกตุ
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2. สามารถวิเคราะห์ปัญหาเข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
บรรยายทฤษฎีและฝึกปฏิบัติ
ประเมินจากข้อสอบ ย่อย, สอบกลางภาค, ปลายภาคเรียน
-คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
- กำหนดปัญหาหรือเหตุการณ์เพื่อหาวิธีแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
-ประเมินจากผลงานที่ได้ปฏิบัติจริงและหรือจากการทดสอบ
มีความรับผิดชอบของตนเองและความรับผิดชอบในกลุ่ม
จัดการเรียนการสอนแลบกลุ่ม
-ประเมินจากพฤติกรรมและความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
-การทำงานเป็นทีม
มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์
- ฝึกการวิเคราะห์ข้อมูลจากการอ่านค่าจากอุปกรณ์รับส่งข้อมูล(sensors)
 -ฝึกทักษะการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโปรแกรมสำหรับควบคุมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และการประมวลผลข้อมูล
ประเมินจากความสามารถในการใช้เครื่องมือ
ประเมินผลจากโครงงานที่มอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 4 1
1 BSCCS301 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.2 -ประเมินจากการเข้าใช้เรียน และความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย - ประเมินจากการสังเกตุ 1-16 5%
2 4.4 ประเมินจากพฤติกรรมและความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย ทุกสัปดาห์ 5%
3 2.1,2.2 ประเมินจากข้อสอบย่อย 4,6,10 10%
4 2.1,2.2 -การสอบกลางภาค 9 30%
5 3.1 -ประเมินจากผลงานที่ได้ปฏิบัติจริงและหรือจากการทดสอบ 14 20%
6 2.1,2.2 การสอบปลายภาค 17 30%
1.1 เขียนโปรแกรมภาษาซี ฉบับสมบูรณ์ ของนิรุธ อำนวยศิลป์ รวมโจทย์ ข้อสอบภาษา C ของประภาพร ช่างไม้
1.2 Python Power The Comprehensive Guide
1.3 เอกสารประกอบการสอน เช่น ​PowerPoint
ภาษาซีสำหรับ Arduino
3.1 เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง

https://www.tutorialspoint.com/java_technology_tutorials.htm https://www.tutorialspoint.com/cprogramming/index.htm
1.1 ประเมินการสอนด้วยแบบสอบถามออนไลน์จากส่วนกลาง
1.2 ประเมินการสอนโดยหลักสูตรจากแบบสอบถามออนไลน์
2.1 ให้นักศึกษาประเมินการสอนก่อนปิดภาคเรียน
3.1 นำผลการประเมินรายวิชาของนักศึกษาของปีการศึกษาที่ผ่านมา มาวิเคราะห์ร่วมกันกับอาจารย์ประจำหลักสูตรเพื่อให้ได้ข้อสรุปในการปรับปรุงรายวิชา
4.1 หลักสูตรแต่งตั้งคณะกรรมการและผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา โดยการนำ มคอ. ๓ มคอ. ๕ และข้อสอบ มาวิเคราะห์ และสรุปข้อเสนอแนะให้อาจารย์ผู้สอนทราบ
5.1 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและอาจารย์ประจำหลักสูตรจัดประชุมหลังปิดภาคเรียน และนำผลการประเมินรายวิชาจาก ข้อ 1 และ ข้อ 2 มาวิเคราะห์เพื่อหาข้อบกพร่องมาแก้ไขปรับปรุง