เทคโนโลยีสารสนเทศทางการเกษตร

Information Technology for Agriculture

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 
รู้ถึงความสำคัญความรู้พื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร  รู้และสามารถค้นคว้าหาข้อมูลได้จากแหล่งข้อมูลและการสืบค้นข่าวสารสนเทศทางการเกษตร สามารถใช้โปรแกรมสำเร็จรูปและข้อมูลภูมิสารสนเทศทางการเกษตร (GIS) ปฏิบัติการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปภูมิสารสนเทศและสามารถนำเทคโนโลยีสารสนเทศไปประยุกต์ใช้ทางการเกษตร
นื่องจากวิชานี้ ถือว่าเป็นวิชาเรียนที่มีการเรียนที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี ซึ่งปัจจุบันนี้ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีมีการพัฒนาที่รวดเร็วมาก ดังนั้นการเรียนการสอนในวิชานี้จึงจำเป็นยิ่งที่ต้องมีการปรับปรุงเนื้อหาการเรียนการสอนให้ทันสมัยและก้าวตามทันเทคโนโลยีที่รวดเร็วได้อย่างเหมาะสม ซึ่งจะมีผลงานวิจัยที่ใหม่ๆ อยู่อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา จึงมีความจำเป็นยิ่งที่ต้องพัฒนาหลักสูตรรายวิชานี้ให้ทันกับเทคโนโลยีที่มีพลวัตตลอดเวลา
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร แหล่งข้อมูลและการสืบค้นข่าวสารสนเทศทางการเกษตร และข้อมูลภูมิสารสนเทศทางการเกษตร (GIS) รวมทั้งการนำเทคโนโลยีสารสนเทศไปประยุกต์ใช้ทางการเกษตร
วันจันทร์ เวลา 8.00 - 12.00 ห้องพักอาจารย์วิทยาการคอมพิวเตอร์ ABL304
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.2.1 การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
1.2.2 การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
1.3.1 แบบประเมิน
1.3.2 การสังเกต
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 
2.1.3 งานที่ได้มอบหมาย
2.2.1 การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) 
2.2.2 การสอนในห้องปฏิบัติการ  
2.2.3 การสอนแบบสาธิต  
2.3.1 งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 
2.3.2 การสังเกต 
2.3.3 การนำเสนองาน 
2.3.4 การฝึกตีความ 
2.3.5 ข้อสอบอัตนัย 
2.3.6 ข้อสอบปรนัย 
2.3.7 แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.2.1 การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)  3.2.2 การสอนแบบฝึกภาคสนาม  
3.3.1 การสังเกต  3.3.2 การนำเสนองาน
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.2.1 การสอนแบบการตั้งคำถาม  4.2.2 การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)    4.2.3 การสอนแบบฝึกภาคสนา
4.3.1 การสังเกต  4.3.2 การประเมินตนเอง
4.3.3 การสอบกลางภาคและปลายภาค
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง  เหมาะสม
5.2.1 ใช้ Power point  5.2.2 มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต  5.2.3 การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล  5.2.4 การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ   
5.3.1 การสังเกต  5.3.2 .แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ  5.3.3 การประเมินตนเอง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา 6. ด้านทักษะปฏิบัติ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม .4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 งานที่ได้มอบหมาย 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 3.3 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง 6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ 6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1 BSCAG005 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. คุณธรรมและจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 6. ทักษะปฏิบัติ การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 5%
2 2.ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
3 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะปฏิบัติ การทดสอบย่อย 4 ครั้ง 4, 7, 10, 13 10%
4 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา การสอบกลางภาค 8 30%
5 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนองาน/การรายงาน 14 20%
6 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสอบปลายภาค 16 30%
สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน). 2552. ตำราเทคโนโลยีอวกาศ        และภูมิสารสนเทศศาสตร์. พิมพ์ที่บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).        กรุงเทพฯ. 331 หน้า  ชฎา ณรงคฤทธิ์. 2547. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อม. ภาควิชาทรัพยากรธรรมชาติและ        สิ่งแวดล้อม คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร.        พิษณุโลก. 315 หน้า
-
http://www.gistda.or.th/main/  http://www.scitu.net/
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยภาควิชา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
 
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดทุกภาคการศึกษา ภาควิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน/การวิจัยในชั้นเรียน  และมอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาที่มีปัญหา ทำวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อยภาคการศึกษาละ 1 รายวิชา มีการประชุมอาจารย์ทั้งภาควิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอน ทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา โดยการสุ่มประเมินฯ ของรายวิชาไม่น้อยกว่า 25% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของภาควิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าภาควิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป