หัวข้อคัดสรรในด้านการผลิตและนวัตกรรมอาหาร 1

Selected Topics in Food Production and Innovation 1

หลังจากเรียนรายวิชานี้แล้วผู้เรียนสามารถ
1. อธิบายความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์เบเกอร์รี่ได้
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ในเทคโนโลยีการผลิตผลิตภัณฑ์เบเกอร์รี่ที่ทันสมัยและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมเบเกอร์รี่ได้
3. อธิบายความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมายและมาตรฐานสำหรับอุตสาหกรรมอาหารทั้งในและต่างประเทศได้
4. ลงมือปฏิบัติเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์เบเกอร์รี่ได้
5. อธิบายถึงความจำเป็นของการพัฒนาผลิตภัณฑ์เบเกอร์รี่ได้ รวมทั้งปัจจัยความสำเร็จและความล้มเหลวในการพัฒนาผลิตภัณฑ์
6. มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและขั้นตอนการพัฒนาผลิตภัณฑ์เบเกอร์รี่
7. สามารถวิเคราะห์การตลาดของผลิตภัณฑ์และพฤติกรรมของผู้บริโภคในระดับท้องถิ่นและอุตสาหกรรมได้
8. มีความรู้ความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์และกระบวนการ
9. มีความรู้ความเข้าใจการตลาดของธุรกิจเบเกอร์รี่
รายวิชานี้จะเน้นกิจกรรมที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ด้านผลิตภัณฑ์เบเกอร์รี่และเครื่องดื่ม และนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์เบเกอร์รี่และเครื่องดื่มโดยนักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติให้ห้องปฏิบัติการ หาความรู้จากนอกสถานศึกษา และมีการคิด วิเคราะห์ พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่เพื่อเรียนรู้กระบวนการของนวัตกรรมอย่างมีเหตุมีผล นอกจากนี้จะนำการจัดการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง มากขึ้น
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับอุปกรณ์ในอุตสาหกรรมเบเกอรี่สมบัติและการเปลี่ยนแปลงของวัตถุดิบที่ใช้ในผลิตผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ การผลิตผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ในระดับอุตสาหกรรม สุขลักษณะการจัดการโรงงานเบเกอรี่
 -   อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษาหน้าห้องพักอาจารย์
 -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1  มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1.1.3 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.4 มีการคิด และวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบ
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้อง
1.2.2 อภิปรายกลุ่ม  
1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด ระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
1.3.2 ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
1.3.3 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
1.3.4 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
นักศึกษาต้องทราบความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเครื่องดื่มและเบเกอรี่ อุตสาหกรรมเครื่องดื่มและเบเกอรี่ กฎหมายและมาตรฐานของสำหรับอุตสาหกรรมเครื่องดื่มและเบเกอรี่ ทั้งในและต่างประเทศ เข้าใจและลงมือปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องดื่มและเบเกอรี่ โดยมีวางแผนอย่างเป็นระบบตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นอกจากนี้นักศึกษาต้องทราบความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับความสำคัญและบทบาทของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การทดสอบความต้องการของผู้บริโภค  เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์  รูปแบบนวัตกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่และการตลาด
บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา  และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ นำความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาเนื้อหาและจากการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมมาใช้ในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้
3.2.1 มอบให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติในการแก้ไขโจทย์ปัญหาที่ให้ และนำเสนอผลการแก้ไขหน้าชั้นเรียน
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม
3.2.3 วิเคราะห์กรณีศึกษาที่เกิดขึ้นในสถานประกอบการ  
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาคโดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่เกิดขึ้นในสถานประกอบการ หรือข่าวต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.3.2 วัดผลจากการประเมินการคิด วิเคราะห์โจทย์  การนำเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการวางแผนในการคิดและตัดสินใจในโจทย์ปัญหาต่างๆ  
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา   
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการแก้โจทย์ปัญหา 
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคลที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2 ประเมินจากรายงานบุคคลที่ต้องใช้ข้อมูลจากเพื่อนร่วมชั้น      
5.1.1 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.3 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม  
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ จากการเก็บข้อมูลในการทดลองและในชีวิตประจำวัน และทำรายงานโดยเน้นกระบวนการวางแผนอย่างมีระบบ
5.2.2 การนำเสนอโดยรูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม  
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย  
6.1.1 มีทักษะวิชาชีพในการปฏิบัติงานตามสมรรถนะวิชาชีพที่สถานประกอบการต้องการ  
6.1.2 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และสามารถบูรณาการความรู้ที่เรียนมาเพื่อพัฒนาต่อยอด ทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนางานได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ  
6.1.3 มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพของตนเอง   
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง โดยใช้ความรู้ที่เรียนมาทำการวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย โดยให้ความสําคัญต่อการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบและมีความประณีต 
6.3.1 สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานและจดบันทึก 
6.3.2 พิจารณาผลการปฏิบัติงาน รวมทั้งงานที่มอบหมาย
6.3.3 พิจารณาจากแนวทางการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบในโครงงานที่ได้รับมอบหมาย ใน รูปแบบของรายงาน ชิ้นงาน และสื่อต่างๆ  
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. 2. 3. 4. 5. 1. 2. 3. 4. 5. 1. 2. 3. 4. 5. 1. 2. 3. 4. 5. 5. 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3.
1 ENGFI216 หัวข้อคัดสรรในด้านการผลิตและนวัตกรรมอาหาร 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2, 3, 5 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 18 30% 30%
2 2.1 โครงงานและการนำเสนอ ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 3.1 สอบย่อย ตลอดภาคการศึกษา 10%
คณาจารย์ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. 2540. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรงเทพฯ.
จิตธนา แจ่มเมฆ และอรอนงค์ นัยวิกุล. 2539. เบเกอรี่เทคโนโลยีเบื้องต้น. ภาควิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี การอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
งามทิพย์ ภู่วโรดม. 2539. หลักการบรรจุ. ภาควิชาเทคโนโลยีการบรรจุ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรงเทพฯ.
ประดิษฐ์ คำหนองไฝ. 2552. เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์เบเกอรี่. คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. ปทุมธานี.
ประดิษฐ์ คำหนองไผ่. 2552. คู่มือบทปฏิบัติการเทคโนโลยีผลิตภัณฑ์เบเกอรี่. คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. ปทุมธานี.
วรวุฒิ ครูส่ง. 2547. การประกันคุณภาพในอุตสาหกรรมอาหาร. ดี สแควร์ อินเตอร์เนชั่นแนล. กรงเทพฯ.
วิสิฐ จะวะสิต. 2545. รู้จักอาหารจากฉลาก. พิมพ์ครั้งที่ 4 .สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน. กรงเทพฯ.
ศูนย์ส่งเสริมและฝึกอบรมการเกษตรแห่งชาติ. เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตรผลิตภัณฑ์อาหาร จากแป้งสาลี. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. นครปฐม
สุมาลี เหลืองสคุล. 2535. จุลชีววิทยาทางอาหาร. พิมพ์ครังที่ 2. ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. กรงเทพฯ.
หน่วยบริการแนะนำด้านเบเกอรี่ บริษัท ลีเวอร์ไทย จำกัด. เอกสารประกอบการสัมมนาเบเกอรี่,35 เดนิชเพสตรี่และเค้กดีไซน์
อรอนงค์ นัยวิคุล. 2532. ข้าวสาลี:วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรงเทพฯ.
อรอนงค์ นัยวิคุล. 2538. เคมีทางธัญญาหาร. ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรงเทพฯ.
อรอนงค์ นัยวิคุล. 2538. คุณสมบัติและการเปลี่ยนแปลงของวัตถุดิบในผลิตภัณฑ์เบเกอรี่และการคำนวณเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์เบเกอรี่. พิมพ์ครั้งที่ 2. ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการ อาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรงเทพฯ.
อุสาห์ เจริญวัฒนา.2537. เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์เบเกอรี่. ภาควิชาเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น.
Pylcr, E.J. 1988. Baking Science and Technology Volume 1,2. Sosland Pup[ishing Company, Merriam, Kansas.
Robertson, G.L. 2006. Food Packaging Principle and Practice. 2nd ed. Taylor and Francis Group. New york.
ไม่มี
คณาจารย์ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. 2540. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . กรุงเทพฯ.
งามทิพย์ ภู่วโรดม. 2539. หลักการบรรจุ. ภาควิชาเทคโนโลยีการบรรจุ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ.
ประดิษฐ์ ค าหนองไผ่. 2552. เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์เบเกอรี่.คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. ปทุมธานี.
ประดิษฐ์ คาหนองไผ่. 2552. คู่มือบทปฏิบัติการเทคโนโลยีผลิตภัณฑ์เบเกอรี่.คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. ปทุมธานี.
วราวุฒิ ครูส่ง. 2547. การประกันคุณภาพในอุตสาหกรรมอาหาร.ดี สแควร์ อินเตอร์เนชั่นแนล. กรุงเทพฯ.
วิสิฐ จะวะสิต. 2545.รู้จักอาหารจากฉลาก. พิมพ์ครั้งที่ 4 .ส านักพิมพ์หมอชาวบ้าน. กรุงเทพฯ.
ศูนย์ส่งเสริมและฝึกอบรมการ เกษตรแห่งชาติ. เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตรผลิตภัณฑ์อาหารจากแป้งสาลี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก าแพงแสน. นครปฐม
สุมาลี เหลืองสกุล. 2535. จุลชีววิทยาทางอาหาร. พิมพ์ครั้งที่ 2. ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. กรุงเทพฯ.
หน่วยบริการแนะน าด้านเบเกอรี่ บริษัท ลีเวอร์ไทย จ ากัด. เอกสารประกอบการสัมมนาเบเกอรี่’35 เดนิชเพสตรี้และเค้กดีไซน์
อรอนงค์ นัยวิกุล. 2532. ข้าวสาลี:วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
อรอนงค์ นัยวิกุล. 2538. เคมีทางธัญญาหาร. ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
อรอนงค์ นัยวิกุล. 2538. คุณสมบัติและการเปลี่ยนแปลงของวัตถุดิบในผลิตภัณฑ์เบเกอรี่และการคำนวณเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์เบเกอรี่. พิมพ์ครั้งที่2. ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
อุสาห์ เจริญวัฒนา.2537. เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์เบเกอรี่. ภาควิชาเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น.
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เรียน
3.1 สัมมนาแลกเปลี่ยนการจัดการเรียนการสอนระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
3.2 การวิจัยในชั้นเรียน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ท่านอื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม  
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ