ฟิสิกส์ 1 สำหรับวิศวกร

Physics 1 for Engineers

1. เข้าใจเรื่องเวกเตอร์ แรง การเคลื่อนที่แบบต่างๆ โมเมนตัมและพลังงาน ระบบอนุภาค สมบัติเชิงกลของสารและกลศาสตร์              ของไหล 2. เข้าใจเรื่องความร้อนและอุณหพลศาสตร์เบื้องต้นเบื้องต้น คลื่นและคลื่นเสียง 3. มีทักษะในการแก้ปัญหาโจทย์ทางวิทยาศาสตร์ 4. ประยุกต์วิชา ฟิสิกส์ 1 สำหรับวิศวกรกับชีวิตประจำวัน วิชาชีพหรือเทคโนโลยีใหม่ๆได้ 5. มีเจตคติต่อวิทยาศาสตร์โดยใช้ความรู้ทางฟิสิกส์
1. ปลูกฝังการคิดอย่างมีระบบและมีเหตุผล 2. ส่งเสริมความให้มีความรู้ไปใช้ในวิชาชีพและเป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงต่อไป 3. สามารถนำความรู้ไปใช้ในวิชาชีพและเป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงต่อไป 4. สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ในชีวิตประจำวัน
ศึกษาเกี่ยวกับกลศาสตร์ของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง สมบัติของสสาร กลศาสตร์ ของไหล ความร้อน การสั่นและคลื่น โดยการสอนจะเน้นที่หลักการที่สําคัญทางฟิสิกส์ การสร้างทักษะในการวิเคราะห์และคํานวณแก้ปัญหาทางวิศวกรรม The study of mechanics of particles and rigid body, properties of matter, fluid mechanics, heat, vibrations and waves. Teaching focuses on the main principles of physics including with skills of analytic and calculation for solving engineering problems.
วันพุธ  เวลา 15.00 - 16.30 น. E-mail. sinupolpimpok@gmail.com
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานในเวลาที่กำหนด 2. กำหนดข้อตกลงร่วมกันในการวัดผลระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
3. ความซื่อสัตย์ 
 
1. การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา 2. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
1. บรรยายครอบคลุมเนื้อหาตามคำอธิบายรายวิชา เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับวิชาการ 2. มอบหมายให้ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม หรือศึกษาด้วยตนเอง 3.กำหนดหัวข้อทางวิชาการให้กับนักศึกษาในการค้นคว้าความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ๆ
1. ทดสอบย่อย 2. สอบกลางภาค สอบปลายภาค 3. ประเมินจากรายงาน หรืองานที่มอบหมาย
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. อธิบายความเชื่อมโยงของความรู้ในวิชาที่ศึกษากับศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง โดยระดมความคิดของนักศึกษาในชั้นเรียน 2. มอบหมายงานให้นักศึกษา ทำแบบฝึกหัด และนำเสนองานหน้าชั้นเรียน
1. ทดสอบย่อย 2. แบบฝึกหัด และการนำเสนองาน
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. มอบหมายงานรายกลุ่ม หรือแบบฝึกหัดให้ทำเป็นกลุ่ม 2. ให้นำเสนองาน แบบฝึกหัด โดยกำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคน
1. ประเมินจากความรับผิดชอบงานกลุ่ม 2. ประเมินจากการนำเสนองาน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.มอบหมายงานกลุ่มและนำเสนอ
1.ประเมินจากผลงาน
2.การนำเสนอผลงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 มีความเข้าใจในเนื้อหา : บทที่ 1 คณิตศาสตร์สำหรับฟิสิกส์ และ บทที่ 2 จลนศาสตร์และพลศาสตร์ สอบข้อเขียน (ครั้งที่ 1) : วัดความเข้าใจ 50 % และวัดการคำนวณ 50% 6 15
2 มีความเข้าใจในเนื้อหา บทที่ 5 มอดุลัสยืดหยุ่นของวัตถุและกลศาสตร์ของไหล และบทที่ 6 การแกว่งกวัด สอบข้อเขียน (ครั้งที่ 3) : วัดความเข้าใจ 50 % และวัดการคำนวณ 50% 14 15
3 มีความเข้าใจ บทที่ 7 คลื่น และ บทที่ 8 อุณหพลศาสตร์ สอบข้อเขียน (ครั้งที่ 4 ปลายภาค) : วัดความเข้าใจ 50 % และวัดการคำนวณ 50% 18 10 %
4 สามารถบูรณาการรายวิชาและประยุกต์ฟิสิกส์ 1 สำหรับวิศวกร ในการอธิบายปรากฏการณ์สำคัญในปัจจุบัน (เป็นที่สนใจในหมู่นักวิจัยและวิศวกรรมศาสตร์ระดับโลก) ผ่านโจทย์บูรณาการที่จะได้รับตั้งแต่สัปดาห์แรกของการเรียน แก้ไขโจทย์บูรณาการเชิงลึกได้ ได้รับโจทย์ในสัปดาห์แรก เป็นง่านเดี่ยว มีเวลาทำกิจกรรมนี้ประมาณ 2- 3 เดือน มีรายงานเขียนด้วยมือ และ Power Point Presentation นำเสนอ 5 นาที พร้อมตอบข้อซักถามจากเพื่อน 17 10
5 นักศึกษาสามารถสร้างสิ่งประดิษฐ์ที่สอดคล้องกับเนื้อหาฟิสิกส์ 1 สำหรับวิศวกร สร้างสิ่งประดิษฐ์ฯ ได้รับโจทย์ในสัปดาห์แรก เป็นง่านกลุ่ม มีเวลาทำกิจกรรมนี้ประมาณ 2- 3 เดือน มีสิ่งประดิษฐ์ มีรายงานเขียนด้วยมือ Power Point Presentation และคลิปอธิภายไม่เกิน 2 นาที และนำเสนอหน้าชั้นไม่เกิน 10 นาที พร้อมตอบข้อซักถามจากเพื่อนๆ 17 10
6 มีความใฝ่เรียนและทบทวนความรู้สม่ำเสมอ พิจารณาจากการจดบันทึกในสมุดโน๊ต หรือจดบันทึกในเอกสารการสอน และการส่งการบ้าน 17 10 %
  เอกสารการสอน PHYSICS 1 FOR ENGINEERS ฟิสิกส์ 1 สำหรับวิศวกร โดย ดร.เฉลา วงศ์แสง -  William P. Crummett and Arthur B. Western, University Physics Models and Applications, (USA: Wm. C. Brown Communications, Inc.), 1994 - John W. Jewett, Jr. and Raymond A. Serway, Physics for Scientists and Engineers with Modern Physics, (Canada: Nelson Education, Ltd.), 2010
-  William P. Crummett and Arthur B. Western, University Physics Models and Applications, (USA: Wm. C. Brown Communications, Inc.), 1994 - John W. Jewett, Jr. and Raymond A. Serway, Physics for Scientists and Engineers with Modern Physics, (Canada: Nelson Education, Ltd.), 2010
 
การนำผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีการยอมรับในระดับโลกและมีชื่อเสียงมาประกอบการสอน
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ผ่านแบบประเมินการเรียนการสอนฯ ด้วยระบบคอมพิวเตอร์หรือเทคโนโลยีสารสนเทศของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยภาควิชา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
แผนกวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา มีการประชุมอาจารย์ในแผนกวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
แผนกวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน
แผนกวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของแผนกวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าแผนกวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป