ชีวเคมีสำหรับวิศวกร

Biochemistry for Engineering

1.1  รู้หลักการพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตและหน่วยโครงสร้างของเซลล์
1.2  เข้าใจหน้าที่และบทบาทของความเป็นกรด-ด่าง และบัฟเฟอร์ในสารละลาย
1.3  เข้าใจคุณสมบัติทางกายภาพและเคมีของสารชีวโมเลกุล ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต, โปรตีน, ไขมัน และ กรดนิวคลีอิก
1.4  เข้าใจหน้าที่ของโปรตีนและเอนไซม์
1.5  เข้าใจหน้าที่ของสารพันธุกรรมและการควบคุมการแสดงออกของจีน
1.6  เข้าใจหลักการพื้นฐานทางพันธุวิศวกรรมและการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรม
1.7  รู้เบื้องต้นของกระบวนการเมทาบอลิซึมในเซลล์และพลังงานระดับเซลล์
1.8  รู้พื้นฐานของการเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์เพื่อการผลิตสารชีวโมเลกุลไปใช้ในอุตสาหกรรม
1.9  แสดงทักษะการปฏิบัติการพื้นฐานทางชีวเคมีที่จำเป็นสำหรับวิศวกรจนเกิดความเข้าใจ
1.10 สร้างนิสัยในการทำงานเป็นกลุ่ม มีความรับผิดชอบและปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้
1.11 รู้การประยุกต์ทักษะการปฏิบัติการทดลองไปใช้ในสายงานที่เกี่ยวข้องได้ตามความเหมาะสม
เพิ่มเปิดสอนเป็นครั้งแรก
ศึกษาและปฏิบัติในหัวข้อพื้นฐานและหลักการทางชีวเคมีที่จำเป็นสำหรับวิศวกร ศึกษาเรื่องสิ่งมีชีวิต โครงสร้างของเซลล์ คุณสมบัติทางกายภาพและเคมีของสารชีวโมเลกุล (คาร์โบไฮเดรต, โปรตีน, ไขมัน และ กรดนิวคลีอิก) หน้าที่และบทบาทของความเป็นกรด-ด่างในสารละลาย หน้าที่ของโปรตีนและเอนไซม์ พื้นฐานของการเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์ การผลิตสารชีวโมเลกุลไปใช้ในอุตสาหกรรม ความรู้เบื้องต้นของกระบวนการเมทาบอลิซึมในเซลล์และพลังงานระดับเซลล์  สารพันธุกรรม การควบคุมการแสดงออกของจีน พันธุวิศวกรรมและการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรม
3
    1.1.1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต
    1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
    1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
    1.1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม
    1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1.2.1 การแสดงความคิดเห็นหรือการอภิปรายรายบุคคลและรายกลุ่ม
1.2.2 การทำข้อสอบหรือแบบทดสอบ
1.2.3 การจัดกิจกรรมรายกลุ่มในชั้นเรียนและห้องปฏิบัตการ
1.2.4 การมอบหมายงานแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม
1.2.5 ประพฤติตนเป็นแบบอย่าง
1.3.1 การตรวจสอบงานที่มอบหมาย
1.3.2 แบบสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
1.3.3 ใบเช็คชื่อการเข้าเรียน
1.3.4 สอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม
2.1.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
2.2.1 การจัดกิจกรรมเข้ากลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดมสมองและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2.2.2 การเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง (การทดลองในห้องปฏิบัติการ, แหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน, เวปไซต์)
2.2.3 การเรียนรู้จากการศึกษาและสืบค้นด้วยตนเองโดยใช้สื่อผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
2.2.4 การทำใบงานหรือแบบทดสอบ
2.3.1 แบบสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียนและการแสดงทักษะปฏิบัติการทดลอง
2.3.2 การทำใบงาน แบบทดสอบ การตอบคำถาม ข้อสอบกลางภาคและปลายภาค
2.3.3 การประเมินคุณภาพของงานที่มอบหมาย (สมุดบันทึก, สมุดรายงานผลการทดลอง )
3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.1.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
3.2.1 การเรียนรู้จากการแสดงความคิดเห็นหรือการอภิปรายายกลุ่มเพื่อแก้โจทย์จากตัวอย่างกรณีศึกษาที่กำหนดให้หรือประเด็นปัญหาที่น่าสนใจจากโจทย์ปัญหาจริงในโรงงาน
3.2.2 การเรียนรู้จากการศึกษาและสืบค้นด้วยตนเองโดยใช้สื่อผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
3.3.1 การประเมินระบบการคิด วิเคราะห์โจทย์ 
3.3.2 แบบสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน (การวางแผนในการคิดและตัดสินใจแก้โจทย์ปัญหาที่เกิดขึ้น
3.3.3 การประเมินคุณภาพของงานที่มอบหมาย (มีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์)
4.1.1  สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม
4.1.2  สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่างๆ
4.1.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.4  รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.1.5 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
4.2.1 การเรียนรู้จากปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้สอน และผู้เรียนกับสังคม
4.2.2 การจัดกิจกรรมเข้ากลุ่มหรือทำการทดลองในห้องปฏิบัติการที่มีการทำงานเป็นทีมเพื่อแก้ไขโจทย์จากตัวอย่างกรณีศึกษาที่กำหนดให้หรือประเด็นปัญหาที่น่าสนใจจากโจทย์ปัญหาจริงในโรงงาน
4.3.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานและร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนในสถานการณ์ที่กำหนด (การทำงานเป็นทีม, การยอมรับฟังความคิดเห็น, การปรับตัวเข้ากับผู้อื่นและสังคม)
4.3.2 การประเมินคุณภาพของงานที่มอบหมาย
 
5.1.1 มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
5.1.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติ ประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
5.1.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
5.1.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
5.1.5 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
5.2.1 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ใช้ความสามารถในการสืบค้น ศึกษา และวิเคราะห์ข้อเท็จจริงในประเด็นปัญหาที่น่าสนใจ นำมาสรุปและนำเสนอเนื้อหาหน้าชั้นเรียน ให้เหมาะสมกับผู้ฟัง
5.2.2 การเรียนรู้จากปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้สอน และผู้เรียนกับสังคม
5.2.3 การแสดงความคิดเห็นหรือการอภิปรายรายบุคคลและรายกลุ่ม
5.3.1 แบบสังเกตพฤติกรรมทำกิจกรรมในชั้นเรียน (การเลือกใช้สารสนเทศที่เหมาะสม)
5.3.2 การประเมินทักษะการสื่อสารและคุณภาพของงานที่มอบหมาย
6.1.1 ทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
6.2.1 การจัดกิจกรรมเข้ากลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดมสมองจากโจทย์จากตัวอย่างกรณีศึกษาที่กำหนดให้หรือประเด็นปัญหาที่น่าสนใจจากโจทย์ปัญหาจริงในโรงงาน และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
6.2.2 การเรียนรู้จากการแสดงความคิดเห็นหรือการอภิปรายายกลุ่มเพื่อแก้โจทย์จากตัวอย่างกรณีศึกษาที่กำหนดให้หรือประเด็นปัญหาที่น่าสนใจจากโจทย์ปัญหาจริงในโรงงาน
6.3.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานและร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนในสถานการณ์ที่กำหนด (การทำงานเป็นทีม, การยอมรับฟังความคิดเห็น, การปรับตัวเข้ากับผู้อื่นและสังคม, การควบคุมเวลาในงานทำงาน)
6.3.2 ประเมินจากวิธีการใช้เครื่องมือที่ถูกต้อง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต 1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม 1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม 1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี 2.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม 2.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้ 3.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี 3.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ 3.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ 4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม 4.2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่างๆ 4.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 4.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ 4.5 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม 5.1 มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี 5.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติ ประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ 5.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 5.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ 5.5 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้ 6.1 ทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
1 ENGAG105 ชีวเคมีสำหรับวิศวกร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 2.3, 3.3, สอบเก็บคะแนนครั้งที่ 1 สอบกลางภาค สอบเก็บคะแนนครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 9 และ 17 60
2 1.3, 2.3, 3.3, 4,3 การปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการ การนำเสนอ โครงงาน ตลอดภาคการศึกษา 30
3 1.3, 3.3, 4,3 การตรงต่อเวลา และการให้ความร่วมมือในการอภิปรายกรณีศึกษาในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
1. สมใจ ศิริโภค. (2550). จุลชีววิทยาอุตสาหกรรม (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: ศุนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.
2. สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล (2556). วิศวกรรมกระบวนการหมัก (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
3. สุชาดา จันทร์ประทีป นภาธร. (2559). หลักการเบื้องต้นของเทคโนโลยีกระบวนการผลิตทางชีวภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
4. วสุ ปฐมอารีย์. (2561).จุลชีววิทยาและการประยุกต์ (พิมพ์ครั้งที่ 1). เชียงใหม่: วนิดาการพิมพ์.
5. รานี สุวรรณพฤกษ์. (2557). เคมีทั่วไป เล่ม 2 (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: บริษัทพิมพ์ดีการพิมพ์ จำกัด.
6. โสภา กลิ่นจันทร์. (2548). กระบวนการแยกสำหรับเทคโนโลยีชีวภาพ 1 (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพ: ศูนย์ผลิตตำราเรียน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
7. Baldwin, E. & Bell, D.  J., (1955). Cole's Practical Physiological Chemistry. London, UK: Heffer.
8. Ball, D. W. (2003). Physical chemistry. CA, USA: Brooks/Cole-Thomson Learning Inc. 
9. Campbell, K. M. & Farrell, S.O. (2015). Biochemistry (8th ed.). Stamford, CT USA: Cengage learning.
10. Chang, R. (2012). Chemistry (10th ed.). New York, USA: McGraw-Hill Companies, Inc.
11. Garrett, R. H., Grisham, C. M. (2002). Principles of biochemistry with a human focus (1st ed.). CA, USA: Brooks/Cole, Cengage Learning.
12. Garrett, R.H., Grisham, C. M. (2013). Biochemistry (4th ed.). CA, USA: Brooks/Cole, Cengage Learning.
13. Koolman, J., & Roehm, K. H. (2005). Color Atlas of Biochemistry (7th ed.). NY, USA: Thieme.
14. McMurry, J. E., & Fay, R. C. (2012). Chemistry. (6th ed.). NJ, USA: Pearson Education, Inc.
15. Nelson. D. L. & Cox, M. M. (2008). Lehninger principles of biochemistry  (5th ed.). NY, USA: W.H. freeman and company.
16. Reece, J. B., Urry, L. A., Cain, M. L., Wasserman, S. A., Minorsky, P. V., & Jackson, R. B. (2011). Campbell Biology (9th ed.). CA, USA: The Benjamin Cumming Publishing Company, Inc.
17. Rodwell, V. W., Bender, D. A., Botham, K. M., Kennelly, P. J., & Weil, P. A. (2018). Harper's Illustrated Biochemistry (31st ed.).  NY, USA: McGraw-Hill Publishing Company.
18. Solomon, E. P., Berg. L. R., & Martin, D. W. (2008). Biochemistry (8th ed.). CA, USA: Thomson Brooks/Cole.
19. Voet, D., Voet, J. G. & Pratt, C. (2013). Principles of Biochemistry (4th ed.). Hoboken, Singapore: John Wiley & Sons. Inc. Singapore Pte. Ltd.
Lee, J. M. (2009). Biochemical engineering. สืบค้น 31 ตุลาคม 2562, จาก http://jmlee.org/documents/ebiochesample.pdf
Vogel, H. C. & Tadaro, C. M. (2014). Fermentation and Biochemical Engineering Handbook. สืบค้น 5 เมษายน 2564, จาก http://www.pdfdrive.com
1. ทนงศักดิ์ สัสดีแพง, ธนากร คำภิระ, วชิร ยอดทอง, และวิทยา วนาภิชิต. (2560). องค์ประกอบสารต้านแบคทีเรียและสารต้านอนุมูลอิสระของกระเม็ง. การประชุมวิชาการวิจัยและนวัตกรรมสร้างสรรค์ครั้งที่ 4 (4th CRCI 2017) และการประชุมสัมมนาวิชาการระดับนานาชาติด้านพลังงานไฟฟ้าแรงสูง พลาสมาและไมโครนาโนบับเบิล สำหรับเกษตรและการประมงขั้นสูง ครั้งที่ 2 (2nd ISHPMNB) (น. 664-671)  เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา. 
2. วชิร ยอดทอง, วรัญญา ธาราเวชรักษ์, ศุภินันท์ จันมา, และทนงศักดิ์ สัสดีแพง. (2561). สมบัติต้านอนุมูลอิสระ ต้านแบคทีเรียและองค์ประกอบทางเคมีของสารสกัดตีนตุ๊กแก. การประชุมวิชาการวิจัยและนวัตกรรมสร้างสรรค์ครั้งที่ 5 (5th CRCI 2018) (น. 186-194). ตาก: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก.
3.Tanongsaks Sassa-deepaeng, Wachira Yodthong and Thanakorn khamphira. (2019). Green synthesized copper nanoparticles and their anti-bacterial properties against bullfrog multidrug resistant gram negative bacteria. Veterinary Integrative Sciences Vol. 17 No. 1 หน้า 33-49.
1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1. การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2. ผลการเรียนของนักศึกษา
3.  แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เรียน
1. สัมมนาแลกเปลี่ยนการจัดการเรียนการสอนระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
2. การวิจัยในชั้นเรียน
1. การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ท่านอื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
2.  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
1. ปรับปรุงรายวิชาทุกภาคการศึกษาตามข้อเสนอแนะนักศึกษาและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
2. เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ