ฟิสิกส์ทางการเกษตร

Agriculture Physics

            1.1 เข้าใจหลักการของจลศาสตร์ พลศาสตร์ กลศาสตร์ของไหล
          1.2 เข้าใจคลื่นเสียง อุณหพลศาสตร์ ไฟฟ้าทัศนศาสตร์ เซลล์แสงอาทิตย์และความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรังสี
          1.3 เกิดทักษะในการวิเคราะห์
          1.4 สามารถคำนวณปัญหาด้านเกษตรกรรมได้
          1.5 มีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์
          2.1 เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 
          2.2 เพื่อให้นักศึกษาได้นำความรู้ ความเข้าใจ ในรายวิชาฟิสิกส์ทางการเกษตร ไปเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลง ตัวอย่างอ้างอิงให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
    ศึกษาและปฏิบัติการทดลอง เกี่ยวกับ จลศาสตร์ พลศาสตร์ กลศาสตร์ของไหล คลื่นเสียง อุณหพลศาสตร์ ไฟฟ้า ทัศนศาสตร์ เซลล์แสงอาทิตย์และความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรังสี โดยการสอนจะเน้นที่หลักการที่สำคัญทางฟิสิกส์ รวมถึงการสร้างทักษะในการวิเคราะห์และคำนวณปัญหาด้านเกษตรกรรม
    The study and laboratory practice about kinematics, dynamics, fluid mechanics, waves, sound, thermodynamics, electricity, optics, solar cells and fundamentals of radiation.Teaching focuses on the main principlesof physics,including analytical skills and calculation skills development related to agricultural topics.
1
š1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
˜1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานในเวลาที่กำหนด
2. กำหนดข้อตกลงร่วมกันในการวัดผลระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
1. การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา
2. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
š2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
1. การสอนฝึกปฏิบัติการ 
2. การเรียนแบบค้นพบ   (Discovery Learning)
3. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
4. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
5. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
3.ข้อสอบอัตนัย
4.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติการ
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. การสอนฝึกปฏิบัติการ 
2. การเรียนแบบค้นพบ   (Discovery Learning)
3. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
4. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
5. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
3.ข้อสอบอัตนัย
4.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติการ
š4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
สังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การสอนฝึกปฏิบัติการ 
2. การเรียนแบบค้นพบ   (Discovery Learning)
3. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
4. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
5. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
1. ประเมินจากความรับผิดชอบ และการมีส่วนร่วมงานกลุ่ม
2. ประเมินจากการนำเสนองาน
˜5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
š5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. การสอนฝึกปฏิบัติการ 
2. การเรียนแบบค้นพบ   (Discovery Learning)
3. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
4. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
5. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
3.ข้อสอบอัตนัย
4.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติการ
˜6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
˜6.2สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
˜6.3สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1. การสอนฝึกปฏิบัติการ 
2. การเรียนแบบค้นพบ   (Discovery Learning)
3. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
4. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
5. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
 
 
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
3.ข้อสอบอัตนัย
4.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติการ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 BSCCC104 ฟิสิกส์ทางการเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ 1. การทดสอบย่อย 2. สอบกลางภาคและปลายภาค ตามความเหมาะสม 70 %
3 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา - การเข้าปฎิบัติการทดลอง - รายงานผลการทดลอง - แบบสังเกต - การนำเสนอผลการทดลอง ตามความเหมาะสม 20 %
1. เอกสารประกอบการสอนวิชาฟิสิกส์ทางเกษตร 
- www.rmutphysics.com/
- www.lesa.biz/
http://www.atom.rmutphysics.com/charud/scibook/physcis-for-everyday/index/index1.htm
1.1 ผลการประเมินอาจารย์ผู้สอนโดยนักศึกษา
ผลการเรียนของนักศึกษา
ปรับปรุงสื่อ และเอกสารการสอน พร้อมทั้งใช้วิธีการสอนที่หลากหลาย
ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบหรืองานที่มอบหมาย กระบวนการอาจจะต่างกันไปสำหรับรายวิชาที่แตกต่างกัน หรือสำหรับมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้าน
นำมาปรับปรุงกลยุทธ์การสอนให้หลากหลาย