ภาษาจีนเพื่อการค้า

Chinese for Trading

1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับคำศัพท์และสำนวนที่ใช้ในการค้าขาย
2. เพื่อให้ผู้เรียนศึกษาบทสนทนาที่ยาวขึ้น และระดับไวยากรณ์ที่สูงขึ้น
3. เพื่อฝึกทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียนของผู้เรียนให้คล่องแคล่วมากขึ้น เพื่อสามารถใช้ในการประกอบอาชีพ
1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นในทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียน ในสถานการณ์ที่เกี่ยวกับการค้า และประโยคหรือบทสนทนาที่ยาวขึ้น
2. เพื่อให้ผู้เรียนได้ใช้ไวยากรณ์ สำนวนต่างๆที่มักใช้ในการติดต่อค้าขายได้อย่างถูกต้อง
ศึกษาคำศัพท์และสำนวนภาษาที่ใช้ในการค้า การอธิบายสินค้า การต่อรองสินค้า และการจัดส่งสินค้า การเขียนจดหมายทางธุรกิจ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเอง ให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณลักษณะอันเป็นที่พึงประสงค์ของผู้ประกอบการ
1.2.1      บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา
1.2.2      อภิปรายกลุ่ม
1.2.3      กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1.3.1      พฤติกรรมการเข้าเรียน และการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2      มีการอ้างอิงเอกสารที่นำข้อมูลมาทำรายงานอย่างถูกต้อง และเหมาะสม
1.3.3      ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4      ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่ได้รับมอบหมาย
มีความรู้เกี่ยวกับหลักการความสำคัญในองค์ประกอบของไวยากรณ์จีน ศึกษาการใช้ภาษาจีนอย่างเหมาะสมโดยการจำลองสถานการณ์ในห้องเรียน
2.2.1      บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน กำหนดข้อตกลงเกี่ยวกับวินัย และพฤติกรรมการเรียน
2.2.2      สังเกตพฤติกรรมการเรียน การส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา ตลอดจนการเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
2.3.1      การทดสอบย่อย และสอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
2.3.2      ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem-based Learning
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
3.2.1     การมอบหมายให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษและการนำเสนอผลงาน
3.2.2     การอภิปรายกลุ่ม
3.2.3     การบรรยาย
3.3.1     สอบย่อยและปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นให้มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3.3.2     การประเมินโครงงาน และการนำเสนอผลงาน
3.3.3     สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1     พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2     พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3     พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายรายงานกลุ่มและรายงานส่วนบุคคล เช่น การค้นคว้าการก้าวล้ำของเทคโนโลยี การนำตัวอย่างเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอน รวมไปถึงการทำธุรกิจ หรืออ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินตนเองและเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากการนำเสนอรายงาน พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3  ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1      พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงานและนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.2     พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.3      พัฒนาทักษะในการสืบค้น้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
5.1.4      ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งอีเมล์
5.1.5      ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1      มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิงจากแหล่งข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ
5.2.2      นำเสนอด้วยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1     ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2    ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบย่อย (ทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน) ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 สอบกลางภาค, สอบปลายภาค 17 20%, 30%
3 การนำเสนอผลงาน 8, 15 20%
4 การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
5 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
หนังสือคนไทยเรียนภาษาจีน 1, สำนักพิมพ์ Peking University, อาจารย์ประพฤทธิ์ ศุกลรัตนเมธี และคณะ แบบฝึกหัดคนไทยเรียนภาษาจีน 1, สำนักพิมพ์ Peking University, อาจารย์ประพฤทธิ์ ศุกลรัตนเมธี และคณะ แบบเรียนภาษาจีนพื้นฐาน ชุดสัมผัสภาษาจีน 1, สำนักพิมพ์ Higher Education, Jiang Liping แบบเรียนภาษาจีนพื้นฐาน ชุดสัมผัสภาษาจีน 2, สำนักพิมพ์ Higher Education, Jiang Liping หนังสือภาษาจีนระดับต้น 1, สำนักพิมพ์ซีเอ็ดยูเคชั่น, เหยิน จิ่งเหวิน หนังสือภาษาจีนเพื่อการค้าสำหรับหน้าร้าน, จัดทำโดย jiewfudao หนังสือคู่มือภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงใหม่, สถาบันภาษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ดที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1 การสังเกตการสอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือ ผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ