ปัญญาประดิษฐ์

Artificial Intelligence

เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจประวัติความเป็นมาของปัญญาประดิษฐ์
1.2  เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจการประยุกต์ใช้เทคนิคของปัญญาประดิษฐ์ในชีวิตประจำวัน
1.3  เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจและสามารถค้นหาโดยในรูปแบบต่าง ๆ ได้
1.4  เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจตรรกะเงื่อนไขและการเล่นเกม
1.5  เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจการจัดการในระบบผู้เชี่ยวชาญ และสามารถประยุกต์ใช้ระบบผู้เชี่ยวชาญโดยใช้กฎในโจทย์ปัญหาได้
1.6  เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจหลักการพื้นฐานของตรรกะคลุมเครือ
-
ประวัติความเป็นมาของปัญญาประดิษฐ์ การประยุกต์ใช้เทคนิคของปัญญาประดิษฐ์ในชีวิตประจำวัน  การค้นหาโดยไม่มีการชี้แนะ การค้นหาโดยมีเชาวน์ปัญญาช่วย การค้นหาเมื่อมีคู่ปรปักษ์ การเล่นเกม ตรรกะเงื่อนไข ระบบผู้เชี่ยวชาญโดยใช้กฎ การจัดการในระบบผู้เชี่ยวชาญ ตรรกะคลุมเครือ
1
1.1 ตระหนักในคุณค่าและ คุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต
˜1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และ ความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและ ผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและ ลำดับความสำคัญ
1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความ คิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพใน คุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็น มนุษย์
1.5 เคารพกฎระเบียบและ ข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและ สังคม
˜1.6 สามารถวิเคราะห์ ผลกระทบจากการใช้ คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและ สังคม
1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการ และวิชาชีพ
การสอนแบบบรรยายพร้อมยกตัวอย่างและฝึกปฏิบัติงาน เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม มอบหมายงานกลุ่มที่เสริมสร้างการวางแผนการทำงาน การทำงานเป็นทีม การรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย เน้นการเข้าห้องเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายให้ถูกระเบียบของมหาวิทยาลัย มีความซื่อสัตย์โดยไม่ทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านหรือผลงานของผู้อื่น สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมในการสอนในรายวิชา
พิจารณาจากการส่งงานของนักศึกษาทั้งงานกลุ่มและเป็นรายบุคคลที่เป็นแบบฝึกหัดและงานที่ได้รับมอบหมายอย่างถูกต้องและตรงเวลา การนำเสนองาน การสังเกตพฤติกรรม การเข้าห้องเรียน การแต่งกายถูกระเบียบของมหาวิทยาลัยและการทำงานเป็นกลุ่ม
 
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
 2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ ความรู้ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
2.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่างๆ ของระบบเทคโนโลยี สารสนเทศให้ตรงตามข้อกำหนด 2.4 สามารถติดตาม ความก้าวหน้าและวิวัฒนาการ คอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไป ประยุกต์
2.5 รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนา ความรู้ ความชำนาญทาง คอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
š2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และ เข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยี ใหม่ๆ
2.7 มีประสบการณ์ในการ
พัฒนาและ /หรือการประยุกต์ ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง
2.8 สามารถบูรณาการความรู้ ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ กับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่ เกี่ยวข้อง
การสอนแบบบรรยายและฝึกปฏิบัติ ที่ครอบคลุมเนื้อหาทางทฤษฎีและปฏิบัติทั้งหมดในรายวิชาโดยใช้สื่อประกอบการสอน ยกตัวอย่างกรณีศึกษาพร้อมให้นักศึกษา วิเคราะห์ปัญหา ร่วมอภิปราย แสดงความคิดเห็น ให้นักศึกษาสืบค้นหาข้อมูลเทคโนโลยีใหม่ๆ หรือศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหารายวิชาในชั่วโมงเรียน
ประเมินผลจากแบบทดสอบ การสอบลางภาคและปลายภาคด้วยข้อสอบที่เน้นทฤษฎีและปฏิบัติ ประเมินผลจากแบบฝึกหัดและงานที่ได้รับมอบหมาย ประเมินจากการทำรายงานและการนำเสนอ
˜3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณ และอย่างเป็นระบบ
3.2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อให้ ในการแก้ไขปัญหาอย่าง
3.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา และความต้องการ
š3.4 สามารถประยุกต์ความรู้ และทักษะกับการแก้ไขปัญหา ทางคอมพิวเตอร์ได้อย่าง เหมาะสม
การสอนแบบบรรยายและฝึกปฏิบัติ ที่ครอบคลุมเนื้อหาทางทฤษฎีและปฏิบัติ การมอบหมายให้นักศึกษาทำงานกลุ่ม นำเสนอผลการศึกษา เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถามเพื่อแสดงความคิดเห็นระหว่างผู้สอนกับนักศึกษา และระหว่างนักศึกษากับนักศึกษา
ประเมินผลจากแบบทดสอบ การสอบกลางภาคและปลายภาคด้วยข้อสอบที่เป็นทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ ประเมินจากการทำรายงานและการนำเสนอ สังเกตพฤติกรรมในการแก้ไขปัญหา
˜4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคน หลากหลายและสามารถสนทนา ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ อย่างมีประสิทธิภาพ
4.2 สามารถให้ความช่วยเหลือ และอำนวยความสะดวกแก่การ แก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆใน กลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือ ในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
4.3 สามารถใช้ความรู้ใน ศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่ เหมาะสม
˜4.4 มีความรับผิดชอบในการ กระทำของตนเองและรับผิดชอบ งานในกลุ่ม
4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดง ประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้ง แสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้ง ของตนเองและของกลุ่ม
4.6 มีความรับผิดชอบการ พัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
มอบหมายงานกลุ่ม งานรายบุคคล และนำเสนอผลการศึกษา เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้แสดงความคิด เสนอแนะ หรือแลกเปลี่ยนความเห็นระหว่างผู้สอนกับนักศึกษา และระหว่างนักศึกษากับนักศึกษา
ประเมินการเข้าชั้นเรียนและการตรงต่อเวลาของนักศึกษา ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ หรือผลงานของนักศึกษา
˜5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือ ที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการ ทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
˜5.2 สามารถแนะนำประเด็น
การแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศ ทางคณิตศาสตร์หรือการแสดง สถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่ เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
š5.3 สามารถสื่อสารอย่างมี ประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและ การเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อ การนำเสนอ อย่างเหมาะสม
5.4 สามารถใช้สารสนเทศและ เทคโนโลยีสื่ออย่างเหมาะสม
การสอนแบบบรรยายและฝึกปฏิบัติ ที่ครอบคลุมเนื้อหาทางทฤษฎีและปฏิบัติทั้งหมดในรายวิชาโดยใช้สื่อประกอบการสอน เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถามเพื่อแสดงความคิดเห็นระหว่างผู้สอนกับนักศึกษา และระหว่างนักศึกษากับนักศึกษา มอบหมายงานกลุ่ม งานรายบุคคล และนำเสนอผลการศึกษา
ประเมินจากผลงาน รายงาน และการนำเสนอด้วยสื่อทางเทคโนโลยี
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4
1 BSCCT206 ปัญญาประดิษฐ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.2 สอบกลางภาค 9 25%
2 2.1, 2.2 สอบปลายภาค 18 25%
3 1.2, 1.6, 4.1, 4.4, 5.1, 5.3 การค้นคว้า และการส่งงานตามที่มอบหมาย (งานเดี่ยว) ตลอดภาคการศึกษา 15%
4 2.1, 2.2, 3.2, 3.3 ทดสอบย่อย 12 หรือ 13 10%
5 3.2, 3.3, 4.1, 4.4, 5.1, 5.3 การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า (งานกลุ่ม) 15-16 15%
6 1.1, 1.2, 1.5, 1.6 จิตพิสัย การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
- ก่อเกียรติ เก่งสกุล และ บุญเจริญ ศิริเนาวกุล, ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้งานปัญญาประดิษฐ์และระบบผู้เชี่ยวชาญ, กรุงเทพฯ : บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด, 2534.
- กิตติ ภักดีวัฒนะกุล, คัมภีร์ระบบสนับสนุนการตัดสินใจและระบบผู้เชี่ยวชาญ, พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ : เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์, 2550.
- ชูพันธุ์ รัตนโภคา, เอกสารคำสอน วิชาความรู้เบื้องต้นทางปัญญาประดิษฐ์, ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์, วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2559.
- Stuart J. Russell and Peter Norvig, Artificial Intelligence: A Modern Approach, 3rd ed., New Jersey : Pearson Education, Inc., 2010.
-
1) https://python3.wannaphong.com/2014/11/python-AI.html
2)  https://www.w3schools.com/python/default.asp
3)  http://marcuscode.com/
4)  https://www.thaiprogrammer.org/2018/12/ท็อป-5-ภาษาโปรแกรมมิ่งที/
5)  https://medium.com/@kasidissatangmongkol/machine-learning-101-สร้างโมเดลแรกของคุณง่ายๆใน-excel-55bad0f99545
6) http://codeonthehill.com/machine-learning-4-data-set/
นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ด้านวิธีการสอน สิ่งสนับสนุนการเรียนการโดย
1.1  แบบประเมินความพึงพอใจการเรียนการสอน โดยฝ่ายวิชาการของมหาวิทยาลัย 
1.2  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การพิจารณาผลการเรียนของนักศึกษา
2.2   การพิจารณาผลงานที่มอบหมาย
2.3   การขอรับคำปรึกษาและสังเกตการณ์ของผู้สอน
หลังจากทราบผลการประเมินการสอน จึงมีการปรับปรุงการเรียนการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   รวบรวมปัญหาการเรียนของนักศึกษาและแนวทางแก้ไข โดยพิจารณาจากประเด็นในการประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนของนักศึกษา
3.2   การจัดทำและพัฒนาเอกสารประกอบการสอนหรือสื่อการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์จากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษาหรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบ และหลังการออกผลการเรียน มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
           4.1   มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักศึกษา เพื่อนำไปพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง
           4.2   ให้นักศึกษามีโอกาสตรวจสอบคะแนนก่อนรายงานผลการเรียน
ผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  โดยมีการปรับปรุงเนื้อหา ตัวอย่างที่ใช้ในการเรียนการสอนให้ทันต่อเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป