เทศกาลและงานประเพณีไทย

Thai Festivals and Traditions

เพื่อให้นักศึกษาเกิดความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับเทศกาลและงานประเพณีไทย การละเล่นพื้นบ้าน อาหารและผลไม้ไทย หัตถกรรมของไทย ของฝาก ของที่ระลึกที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตความเชื่อภูมิปัญญาไทยและประเพณี ตลอดจนสามารถหาแนวทางการทำนุบำรุงและอนุรักษ์ประเพณีและวัฒนธรรมได้ อีกทั้งยังสามารถจัดนิทรรศการส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับเทศกาลและงานประเพณีไทยได้
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานด้านเทศกาลและงานประเพณีไทย เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในรายวิชาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและการทำงานต่อไปได้
ศึกษารูปแบบลักษณะองค์ประกอบและประวัติของเทศกาลและงานประเพณีในแต่ละภาคของประเทศไทยการละเล่นและกีฬาพื้นบ้านอาหารและผลไม้ไทยหัตถกรรมไทยของฝากของที่ระลึกที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตความเชื่อภูมิปัญญาไทยและประเพณีตลอดจนการทฤษฎีและแนวทางการทำนุบำรุงและอนุรักษ์ประเพณีและวัฒนธรรม
 
อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษา ผ่านทางป้ายประกาศของสาขาวิชาฯ อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1.1.1  มีความซื่อสัตย์สุจริตและสามารถจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.1.2  มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ 1.1.3  มีความรับผิดชอบในหน้าที่เป็นสมาชิกที่ดีและมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนามีภาวะผู้นำและเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น 1.1.4  มีวินัยในการทำงานและปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
 
 
 
 
1.2.1  เน้นย้ำการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้องเรียน และความร่วมมือต่าง ๆ 1.2.2  อภิปรายกลุ่มในชั้นเรียน 1.2.3  สอดแทรกกรณีตัวอย่างที่เกี่ยวข้องและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
1.3.1 พิจารณาจากพฤติกรรมการเข้าเรียนและการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างถูกต้องและตรงเวลา 1.3.2 พิจารณาจากการร่วมอภิปรายที่มีเหตุผล และยกตัวอย่างที่น่าสนใจ และสร้างสรรค์ 1.3.3 ประเมินผลการจากกรณีศึกษาที่ได้รับมอบหมาย 1.3.4 เช็คชื่อการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้องเรียน และความร่วมมือต่าง ๆ
รู้และเข้าใจ  รูปแบบลักษณะองค์ประกอบและประวัติของเทศกาลและงานประเพณีในแต่ละภาคของประเทศไทยการละเล่นและกีฬาพื้นบ้านอาหารและผลไม้ไทยหัตถกรรมไทยของฝากของที่ระลึกที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตความเชื่อภูมิปัญญาไทยและประเพณีตลอดจนการทฤษฎีและแนวทางการทำนุบำรุงและอนุรักษ์ประเพณีและวัฒนธรรม
2.2.1  บรรยายประกอบการยกตัวอย่าง 2.2.2  อภิปรายหลังการทำกิจกรรม หรือสถานการณ์จำลอง 2.2.3  การศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นหลักในการเรียนรู้  (Problem – based Learning)
2.3.1  ทดสอบกลางภาคและปลายภาค 2.3.2  ประเมินผลจากการนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า 2.3.3  ประเมินจากการจัดทำโครงการ
3.3.1 มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับเทศกาลและงานประเพณีในแต่ละภาคของประเทศไทยรวมทั้งมีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น 3.3.2 มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎีภาคปฏิบัติไปใช้ประโยชน์ในการฝึกประสบการณ์ภาคสนามและการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม 3.3.3 มีความสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจ (ท่องเที่ยวและโรงแรม)
3.2.1  การมอบให้นักศึกษาทำงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน 3.2.2 กิจกรรมกลุ่ม
3.3.1  ปฏิภาณไหวพริบในการตอบข้อซักถามอาจารย์เมื่อมีสถานการณ์จำลองซึ่งเป็นข้อชี้วัดหนึ่งในการให้คะแนนปฏิบัติได้ 3.3.2  พิจารณาจากการทำงานรวมกลุ่มการประสานงานและรักษาอำนาจหน้าที่ในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายได้เป็นอย่างดี
4.1.1  มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสมรวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหากลุ่ม 4.1.2  มีความสามารถในการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่องและตรงตามมาตรฐานสากล 4.1.3 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.2.1  จัดกิจกรรมกลุ่มหรือสถานการณ์จำลอง แล้ววิเคราะห์หาสาเหตุ
4.3.1  นักศึกษาประเมินผลตนเองและเพื่อนด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด  เกี่ยวกับการช่วยเหลือและมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีในงาน 4.3.3  ประเมินผลจากการทำงานเสร็จตรงเวลามีความรับผิดชอบทั้งต่ออาจารย์ และเพื่อนในกลุ่มได้ 4.3.4 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา 4.3.5 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคลและนำเสนอรายงาน
5.1.1  มีความสามารถในการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการฟังการพูดการอ่านการเขียนและการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.5.2 มีความสามารถในการสื่อสารในเรื่องของการบริการการในสถานที่ต่างๆกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรมรวมทั้งการเลือกใช้คำศัพท์ได้อย่างถูกต้อง 5.5.3  มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสารรู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.5.4  มีความสามารถในการใช้ตัวเลขทางคณิตศาสตร์และสถิติในการทำงานได้ 5.5.5  พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.2.1  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง  ทางเว็บไซต์  แล้ววิเคราะห์พร้อมกับนำเสนอ ทั้งแบบบรรยาย  และตารางตัวเลข  พร้อมกับบอกแหล่งอ้างอิง 5.2.2 นำเสนอผลการศึกษาข้อมูล  พร้อมการวิเคราะห์และนำเสนอในรูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม 5.3.3 จัดทำโครงการนิทรรศการแบ่งบันความรู้สืบสานวัฒนธรรมไทยสี่ภาค
5.3.1  ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 5.3.2  ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย 5.3.3  ข้อสอบกลางภาคและปลายภาค
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทส 6.ทักษะด้านการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3. 1. 2. 3. 1. 2. 3. 1. 2. 3. 1. 2. 3.
1 BOATH123 เทศกาลและงานประเพณีไทย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 2.1 การเข้าห้องเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 1.1 2.1 การสอบเก็บคะแนนกลางภาค 9 30%
3 1.1 2.1 3.2 กิจกรรมกลุ่ม 1. การจัดนิทรรศการภายใต้ธีม World Tourism Day (30 คะแนน) 2.การนำเสนองานผ่านระบบ MS Teams การออกแบบและสร้างสรรของที่ระลึกในงานเทศกาลและประเพณี (10 คะแนน) 13 - 16 50%
4 1.1 2.1 3.1 5.3 งานเดี่ยวที่ได้รับมอบหมายรายบุคคล ปฏิทินการท่องเที่ยวงานเทศกาลและประเพณีไทย (10 คะแนน) 14 10%
กรมศิลปากร. (2491.) ประเพณีเก่าของไทย ประเพณีเนื่องในการตาย. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร. กรมศิลปากร. (2531.) โบราณคดีสี่ภาค. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร. โขมสี แสนจิตต์. (2552.) เมืองโบราณหริภุญไชย จากหลักฐานโบราณคดี. วิทยานิพนธ์ระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์ ภาควิชาโบราณคดี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. ชิน อยู่ดี. (2512.) คนก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : คุรุสภา. ประพิศ พงศ์มาศ. (2551.) “พัฒนาการการปลงศพ : ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึงสมัยประวัติศาสตร์จากหลักฐานโบราณคดี,” ใน งานโบราณคดีใต้ร่มพระบารมีปกเกล้า. 12-1-12-5. กรุงเทพฯ : คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร. ปรานี วงษ์เทศ. (2534.) พิธีกรรมเกี่ยวกับการตายในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้ง. ผาสุข อินทราวุธ. (2548.) สุวรรณภูมิจากหลักฐานโบราณคดี. กรุงเทพฯ : ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร. พิพัฒน์ กระแจะจันทร์. (2551.) “พิธีกรรม “กล่องหิน” หรือ “โลงหิน” ที่แหล่งโบราณคดีบ้านวังประจบจังหวัดตาก กับการตีความทางโบราณคดี,” ใน งานโบราณคดีใต้ร่มพระบารมีปกเกล้า. 14-1-14-29. กรุงเทพฯ : คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร. พิสิฐ เจริญวงศ์. (2515.) “พิธีศพในประเทศไทยสมัยก่อนประวัติศาสตร์และประวัติศาสตร์ตอนต้น,”. วารสารโบราณคดี. ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (ตุลาคม, 2515). ดุจฤดี คงสุวรรณ์. (2544.) การศึกษาพิธีกรรมปลงศพ ณ แหล่งโบราณคดีค่ายประตูผา อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง. วิทยานิพนธ์ระดับมหาบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ภาควิชาโบราณคดี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. เทือง สกุลดี. (2518.) “ความเชื่อของคนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่บ้านเชียง,” วารสารโบราณคดี. ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (กรกฎาคม, 2518) . นฤพล หวังธงชัยเจริญ. (2551.) “การฝังศพทารกในภาชนะดินเผา : แหล่งโบราณคดีวัดโพธิ์ศรีใน บ้านเชียง,” ใน งานโบราณคดีใต้ร่มพระบารมีปกเกล้า. 17-1-17-13. กรุงเทพฯ : คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร. ผาสุข อินทราวุธ, (2548,) สุวรรณภูมิจากหลักฐานโบราณคดี, กรุงเทพฯ : ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วารสารศิลปะวัฒนธรรม
สำนักโบราณคดี 2537 โบราณคดีสี่ภาค เอกสารการสอน ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร เวปไซด์เกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย เวปไซด์เกี่ยวข้องกับโบราณสถานที่เกี่ยวข้องกับแหล่งท่องเที่ยวของกรมศิลปากร
การสนทนากลุ่มระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา / แบบประเมินอาจารย์และแบบประเมินรายวิชา การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา / ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ดที่อาจารย์ได้จัดทาไว้สื่อสารกับนักศึกษา
• การสังเกตการสอนของผู้ร่วมทีมสอน • ผลการสอบ/การเรียนรู้ • การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้ • การประเมินโดยคณะกรรมการประเมินข้อสอบและวิธีการประเมิน
• สัมมนา ประชุมปฏิบัติการการจัดการเรียนการสอน • การวิจัยในชั้นเรียน
 
4.1 คณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตรแต่งตั้งคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา 4.2 ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามกรอบเวลาที่ทางหลักสูตรกำหนด 4.3 คณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาโดยการสุ่มสัมภาษณ์นักศึกษากลุ่มเป้าหมาย 4.4 ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาโดยใช้แบบประเมินตนเองของนักศึกษาต่อระดับผลการเรียนรู้
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ 5.3 ลงพื้นที่ทำการศึกษาวิจัยในหัวข้อที่เกี่ยวของกับรายวิชาเพื่อบูรณาการการเรียนการสอนกับงานวิจัย 5.4 ปรับปรุงเนื้อหารายวิชที่ได้จากการวิจัย