ทักษะพื้นฐานทางการเกษตร

Basic Skills for Agriculture

1.1 ให้ความรู้พื้นฐานทางด้านการเกษตร 1.2 สามรถปฏิบัติงานเป็นทีมร่วมกับผู้อื่นได้ 1.3 มีคุณธรรม จริยธรรม สำนึกในจรรยาของวิชาชีพ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และรับผิดชอบต่อสังคม 1.4 มีทัศนคติและเจตนคติที่ดีต่อวิชาชีพการเกษตร
อุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ในปัจจุบันมีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงหลายอย่าง ซึ่งก้าวหน้ากว่าการเรียนการสอนตามหลักสูตรเก่า ดังนั้นนักศึกษาในปัจจุบันต้องมีทักษะพื้นฐานทางการเกษตรทั่วไปทุกด้าน เนื่องจากการเกษตรในปัจจุบัน เป็นการบูรณาการจากความรู้หลายๆด้าน ถึงแม้จะมุ่งเน้นการประกอบอาชีพทางการผลิตสัตว์ก็ตาม
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการเกษตร ทักษะการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์พื้นฐานการเกษตร และการทำงานร่วมกับผู้อื่น
นัดหมายเป็นรายบุคคล
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ 1.2 มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
บรรยายและการสอนฝึกปฏิบัติการ
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 2.การสังเกต
2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่างถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง 2.2 มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
สอนฝึกปฏิบัติการ
งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม 3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ 3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม
สอนฝึกปฏิบัติการ
งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
4.1ภาวะผู้นำหมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม 4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม
1.การสอนฝึกปฏิบัติการ 2.การสอนโดยการอภิปรายกลุ่มแบบต่าง ๆ
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 2.การสังเกต
5.1 มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน 5.2 ทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีคุณธรรมและจริยธรรม มีจรรยาบรรณ มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ มีความรอบรู้ สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ ภาวะผู้นำ มีทักษะการสื่อสาร ทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 BSCAG002 ทักษะพื้นฐานทางการเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.2, 3.1,3.3 4.1,4.2 1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 2.การสังเกต 3.การทำงานกลุ่มและผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 90
2 4.2 1.การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของมหาวิทยาลัย 2.การสังเกตุ ตลอดภาคการศึกษา 10
-
-
-
- การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน - การสนทนากลุ่มและสุ่มสอบถามรายตัว ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน
- สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม - คำตอบและข้อคิดเห็นของนักศึกษาจากการถามตอบปากเปล่า
- สัมมนาจัดการเรียนการสอน
- สุ่มวิธีการให้คะแนน และการให้คะแนนพฤติกรรมโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 4 ปี - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน