การค้าในภูมิภาคอาเซียน

ASEAN Trade

ผู้เรียนศึกษารายวิชาการค้าในภูมิภาคอาเซียน แล้วเพื่อ
1.  เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ
2.  เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจโครงสร้างความร่วมมือการค้าในภูมิภาคอาเซียน
3.  เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในระบบเศรษฐกิจการค้าการลงทุนในประเทศอาเซียน
4.  เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในสถานการณ์พลังงานของประเทศไทยในอาเซียน
5.  เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในอุตสาหกรรมเกษตรและอาหารของประเทศไทยในอาเซียน
6.  เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในนโยบายและผลกระทบด้านนโยบายอุตสาหกรรมยานยนต์
7.  เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในนโยบายและผลกระทบด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
8.  เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในนโยบายและผลกระทบด้านนโยบายอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในอาเซียน
การศึกษา “การค้าในอาเซียน” เป็นส่วนหนึ่งของความร่วมมือเฉพาะด้านของอาเซียน โดยความร่วมมือดังกล่าวมีพัฒนาการเป็นลำดับอย่างช้าๆ ทั้งในเชิงบริหารจัดการและสาระความร่วมมือ โดยในการบริหารจัดการนั้น มีความพยายามที่จะผลักดันให้ความร่วมมือด้านการศึกษาของอาเซียน มีลักษณะที่เป็นทางการและมีผลในเชิงนโยบายและในเชิงปฏิบัติมากขึ้น เมื่ออาเซียนมีการปรับตัวในเชิงโครงสร้างเพื่อให้ความร่วมมือในด้านต่างๆ ของอาเซียนเข้มแข็งขึ้น และมีการจัดอย่างต่อเนื่องทุกปี การจัดการศึกษาในอาเซียนเป็นรากฐานสำคัญในการสร้างความเข้มแข็ง และความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจของอาเซียนและเศรษฐกิจโลก
นอกจากนี้ การอุดมศึกษาในอาเซียน ได้กลายเป็นภาคธุรกิจขนาดใหญ่และไร้พรมแดน เพื่อตอบสนองการเปิดเสรีการศึกษา ทั้งในกรอบอาเซียนและการค้าโลก เป็นผลให้เกิดกระแสการแข่งขันในการให้บริการด้านการศึกษา การเสริมสร้างความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน ในการพัฒนามาตรฐานการศึกษาของสถาบันการอุดมศึกษาไปสู่ความเป็นนานาชาติ และ World Class University ตามระบบ เพื่อตอบสนอง การเปลี่ยนแปลงและความต้องการของตลาดแรงงานในระดับชาติและภูมิภาค การปรับตัวต่อกระแส การเปิดเสรีทางการศึกษา กฎบัตรอาเซียน ฯลฯ
แนวทางดังกล่าวก่อให้เกิดความร่วมมือทางวิชาการระหว่างสถาบันอุดมศึกษาในอาเซียนและประชาคมยุโรป ในลักษณะข้อตกลงที่ทำร่วมกันในระดับสถาบันต่อสถาบัน ทั้งในส่วนของมหาวิทยาลัยของรัฐและมหาวิทยาลัยของภาคเอกชน ในด้านการพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาสถาบันการศึกษาร่วมกัน ในขณะเดียวกันการจัดตั้งเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน ได้ช่วยส่งเสริมความร่วมมือในการพัฒนาคณาจารย์ นักวิชาการ และนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา รวมทั้งการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ทั้งระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกันเอง และความร่วมมือกับประเทศคู่เจราจาในอาเซียนบางประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ญี่ปุ่น เกาหลี จีน อินเดีย รัสเซีย และสหภาพยุโรป อีกด้วย
ศึกษารายละเอียดด้านเศรษฐกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน ระบบเศรษฐกิจการค้า การลงทุน การศึกษาดูงาน และอภิปรายรายละเอียดเรื่องของแนวโน้มเศรษฐกิจในภูมิภาคอาเซียน ด้านพลังงาน ด้านการเกษตรด้านอาหาร อุตสาหกรรมยานยนต์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การท่องเที่ยว รวมถึงเขตการค้าเสรีในกลุ่มอาเซียน
กำหนดตารางให้คำปรึกษาในเวลาราชการตั้งแต่วันจันทร์ถึงวันศุกร์ เวลา 09.00 – 16.30 น. ผ่านช่องทาง Microsoft Team และ Grouped Application Line โดยอาจบันทึกข้อความคำถามหรือประเด็นขอคำปรึกษาไว้ในช่องทางดังกล่าว โดยที่อาจารย์ผู้สอนจะตอบหรือให้คำปรึกษาในช่วงเวลาดังกล่าว
1.  มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจ มีจิตสำนึกสาธารณะ ตระหนักถึงคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและผู้อื่น
2.  มีความพอเพียง มีวินัย อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม
3.  มีความเคารพต่อกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
6.  มีความเคารพต่อกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.  มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจ มีจิตสำนึกสาธารณะ ตระหนักถึงคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและผู้อื่น
2.  มีความพอเพียง มีวินัย อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม
3.  มีความเคารพต่อกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
6.  มีความเคารพต่อกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.  มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจ มีจิตสำนึกสาธารณะ ตระหนักถึงคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและผู้อื่น
2.  มีความพอเพียง มีวินัย อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม
3.  มีความเคารพต่อกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
6.  มีความเคารพต่อกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
2.  มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะและความสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน
3.  มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจในด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
9.  มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟแวร์ที่ใช้ในงานได้จริง
1.  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
2.  มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะและความสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน
3.  มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจในด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
9.  มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟแวร์ที่ใช้ในงานได้จริง
1.  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
2.  มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะและความสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน
3.  มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจในด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
9.  มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟแวร์ที่ใช้ในงานได้จริง
1.  สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศจากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจและการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง
2.  สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือก และผลกระทบจากทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบเทียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ
3.  คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบรูณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษาและประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป
5.  สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
1.  สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศจากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจและการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง
2.  สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือก และผลกระทบจากทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบเทียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ
3.  คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบรูณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษาและประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป
5.  สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
1.  สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศจากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจและการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง
2.  สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือก และผลกระทบจากทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบเทียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ
3.  คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบรูณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษาและประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป
5.  สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
1.  มีภาวะผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
2.  มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่างและแสดงความคิดเห็นใหม่ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
3.  มีความสามารถในการประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบพรอ้มทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน ในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำและในบทบาทของผู้ร่วมทีมงาน
4.  มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
7.  สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
1.  มีภาวะผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
2.  มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่างและแสดงความคิดเห็นใหม่ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
3.  มีความสามารถในการประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบพรอ้มทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน ในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำและในบทบาทของผู้ร่วมทีมงาน
4.  มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
7.  สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
1.  มีภาวะผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
2.  มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่างและแสดงความคิดเห็นใหม่ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
3.  มีความสามารถในการประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบพรอ้มทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน ในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำและในบทบาทของผู้ร่วมทีมงาน
4.  มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
7.  สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
1.  สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณมาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน
2.  สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิคของเครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงาน และการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสม อย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างสรรค์
1.  สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณมาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน
2.  สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิคของเครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงาน และการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสม อย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างสรรค์
1.  สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณมาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน
2.  สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิคของเครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงาน และการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสม อย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างสรรค์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ 3. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา 4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจ มีจิตสำนึกสาธารณะ ตระหนักถึงคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและผู้อื่น 1.2 มีความพอเพียง มีวินัย อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม 1.3 มีความเคารพต่อกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม 1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กร และสังคม 2.1 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง 2.2 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะและความสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน 2.3 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจในด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ 2.9 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟแวร์ที่ใช้ในงานได้จริง 3.1 สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศจากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจและการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง 3.2 สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือก และผลกระทบจากทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบเทียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ 3.3 คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบรูณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษาและประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป 3.5 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม 4.1 มีภาวะผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้ 4.2 มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่างและแสดงความคิดเห็นใหม่ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 4.3 มีความสามารถในการประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบพรอ้มทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน ในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำและในบทบาทของผู้ร่วมทีมงาน 4.4 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 4.7 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม 5.1 สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณมาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน 5.2 สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิคของเครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงาน และการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสม อย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างสรรค์
1 BBABA401 การค้าในภูมิภาคอาเซียน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กร และสังคม แบบฝึกหัดวิเคราะห์เศรษฐกิจในบทที่ 2-5 สัปดาห์ที่ 5 10%
2 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะและความสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน แบบฝึกหัดการวิเคราะห์ข่าวโดยใช้ทฤษฎีบทที่ 2-5 สัปดาห์ที่ 6 20%
3 สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศจากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจและการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง แบบฝึกหัดการวิเคราะห์เศรษฐกิจโดยใช้ทฤษฎีบทที่ 3-5 6 20%
4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม สังเกตุการใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครื่องมือเทคโนโลยีประกอบการสืบค้นเพื่อหาคำตอบในแบบฝึกหัด และการอ้างอิงแหล่งข้อมูล สัปดาห์ที่ 7 10%
5 มีภาวะผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้ สังเกตจากการทำแบบฝึกหัดในห้องเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
6 สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณมาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน วัดผลจากการทำแบบฝึกหัด การวาดกราฟ การคำนวณ การใช้หลักการและเหตุผล (Logical Thinking) ของนักศึกษา ทุกสัปดาห์ 30%
เจรจาการค้าระหว่างประเทศ, กรม กระทรวงพาณิชย์. ASEAN AEC Fact Book. นนทบุรี: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์, 2554.
สมชาย  รัตนโกมุท.  2527. เอกสารการสอนชุดวิชาเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ (International Economics) เล่มที่ 1 หน่วยที่ 2 ทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ระวีวรรณ  มาลัยวรรณ และสุชาดา  ตั้งทางธรรม.  2547. เอกสารการสอนชุดวิชาไทยในเศรษฐกิจโลก (Thailand in the World Economy) เล่มที่ 3 หน่วยที่ 9 การรวมกลุ่มเศรษฐกิจโลก. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สุวพิมพ์  เลี่ยมเมินฟุล และรสริน  โอสถานันต์กุล.  (2563). การวิเคราะห์ความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบในการส่งออกสินค้าเกษตรของประเทศสมาชิกอาเซียน. Journal of Economics Chiang Mai Universitity, ปีที่ 9, 53 – 70.
ระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (องค์กรมหาชน), สถาบัน. โอกาสและอุปสรรคการลงทุนภายใต้ความตกลงการลงทุนอาเซียนเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน: กรุงเทพมหานคร: สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (องค์กรมหาชน), 2557.
กระทรวงพลังงาน. พลังงานกับอาเซียน: กรุงเทพมานคร, 2558.
ยานยนต์, สถาบัน. นโยบายด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ของประเทศอาเซียนเพื่อรองรับ AEC 2015: กรุงเทพมานคร, 2556.
การท่องเที่ยว, กรม. แผนการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวของอาเซียน พ.ศ. 2559 – 2568: กรุงเทพมานคร, 2558.
http://www.mahasarakham.go.th/asean/images/pdf/AEC%20Factbook.pdf
https://digitallib.stou.ac.th/handle/6625047444/2091
https://www.stou.ac.th/schoolsweb/sec/UploadedFile/60341-9.pdf
https://www.econ.cmu.ac.th/econmag/journals/issue17-2_3.pdf
http://www.itd.or.th/th/%E0%B9%82%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B8/
https://www.thaiauto.or.th/2012/backoffice/file_upload/research/51125561719241.pdf
http://www.mahasarakham.go.th/asean/images/pdf/AEC%20Factbook.pdf
https://digitallib.stou.ac.th/handle/6625047444/2091
https://www.stou.ac.th/schoolsweb/sec/UploadedFile/60341-9.pdf
https://www.econ.cmu.ac.th/econmag/journals/issue17-2_3.pdf
http://www.itd.or.th/th/%E0%B9%82%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B8/
https://www.thaiauto.or.th/2012/backoffice/file_upload/research/51125561719241.pdf
การศึกษารายวิชาการค้าในภูมิภาคอาเซียนมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจอันดีต่อกันระหว่างประเทศในภูมิภาค ส่งเสริมสันติภาพ เสถียรภาพและความมั่นคงปลอดภัยทางการเมือง การสร้างสรรค์ ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม การกินดีอยู่ดีบนพื้นฐานความเสมอภาคและผลประโยชน์ร่วมกัน รวมถึงเตรียมความพร้อมทรัพยากรบุคคลของประเทศ ในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียนของเด็กไทย โดยจะให้มีคุณลักษณะตามที่กำหนดของตัวชี้วัดทั้ง 3 ด้าน ซึ่งประกอบด้วย (1) ด้านความรู้เกี่ยวกับการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม จุดกำเนิดอาเซียน กฎบัตรอาเซียน ประชาอาเซียน ความสัมพันธ์กับภายนอกอาเซียน (2) ด้านทักษะกระบวนการ ได้แก่ ทักษะพื้นฐาน คือสามารถสื่อสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา (ภาษาอังกฤษและภาษาประเทศเพื่อนบ้านอีกอย่างน้อย 1 ภาษา) ทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสร้างสรรค์ การแก้ปัญหาอย่างสันติวิธี การทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่น ทักษะพลเมือง ความรับผิดชอบทางสังคม คือ เคารพและยอมรับความหลากหลายทางวัฒนธรรม มีภาวะผู้นำ เห็นปัญหาสังคมและลงมือทำพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง ทักษะการเรียนรู้และพัฒนาตนเห็นคุณค่าความเป็นมนุษย์เท่าเทียมกัน แสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ คิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีวิธีอย่างถูกต้อง จัดการควบคุมตนเองได้ (3) ด้านเจตคติ ความภูมิใจในความเป็นไทย ร่วมกันรับผิดชอบ มีความตระหนัก ความเป็นอาเซียนวิถีชีวิตประชาธิปไตย ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล สันติวิธี สันติธรรม ยอมรับความแตกต่างในการนับถือศาสนา ดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2554)
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาจากความรู้ความเข้าใจ การเห็นความสำคัญ การตระหนัก และประเมินจากกิจกรรมการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการค้าในภูมิภาคอาเซียนจากกิจกรรมการตอบปัญหาอาเซียน และกิจกรรมการนำเสนอผลงาน
ประเมินจากประสิทธิผลของงานที่มอบหมายทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนรวมทั้งการตอบคำถาม การแลกเปลี่ยนความรู้และการอภิปรายประเด็นปัญหาร่วมกัน และการประเมินผู้สอนในระบบออนไลน์
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 ผู้สอนวางแผนปรับปรุงการเรียนการสอนในภาคเรียน ในภาคการศึกษา 2/2561 ด้วยกิจกรรมการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการค้าในภูมิภาคอาเซียนจากกิจกรรมการตอบปัญหาอาเซียน และกิจกรรมการนำเสนอผลงาน แล้วให้นักศึกษากลับมาอภิปรายกลุ่มโดยใช้องค์ความรู้ทางทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ และเศรษฐศาสตร์สังเคราะห์และวิเคราะห์ เมื่อได้ผลการประเมินแล้วสามารถนำข้อมูลมาวิเคราะห์เปรียบเทียบความเข้าใจและหาแนวทางปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอนให้ดียิ่งขึ้น หรือปรับปรุงเนื้อหาที่สอนและวิธีการวัดผลและประเมินต่อไป
ผู้สอนทบทวนวัตถุประสงค์การเรียนรู้ ใช้ในการปรับปรุงเครื่องมือในการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในแต่ละด้าน จากเดิมที่เคยประเมินความรู้ทางทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศด้วยข้อสอบปลายภาค การตอบปัญหาอาเซียน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเห็นความสำคัญ การตระหนักถึงความสำคัญของการศึกษาการค้าในภูมิภาคอาเซียนที่มีต่อนักศึกษาสาขาการจัดการด้วยกิจกรรมตอบปัญหาอาเซียน และการนำเสนอผลงานผู้สอนทบทวนวัตถุประสงค์การเรียนรู้ ใช้ในการปรับปรุงเครื่องมือในการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในแต่ละด้าน จากเดิมที่เคยประเมินความรู้ทางทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศด้วยข้อสอบปลายภาค การตอบปัญหาอาเซียน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเห็นความสำคัญ การตระหนักถึงความสำคัญของการศึกษาการค้าในภูมิภาคอาเซียนที่มีต่อนักศึกษาสาขาการจัดการด้วยกิจกรรมตอบปัญหาอาเซียน และการนำเสนอผลงาน
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ ผู้สอนใช้วิธีการดำเนินการทบทวนและวางแผนการปรับปรุงประสิทธิภาพของรายวิชาดังแนวทางต่อไปนี้
1. ผู้สอนมีการวางแผนการสอนโดยเตรียมการสอนก่อนเริ่มสอนให้สอดคล้องกับแผนการสอนที่ได้กำหนดไว้ตั้งแต่ต้น
2. ผู้สอนลงมือปฏิบัติตามแผนงานที่ได้วางเอาไว้
3. มีการทำแบบประเมินโดยนักศึกษาและโดยผู้สอนทั้งก่อนและหลังเรียน มีการวัดผลการเรียนระหว่างภาคและสิ้นสุดภาคการศึกษา และมีการประมวลผลและแจ้งผลไปยังนักศึกษาได้โดยตรงโดยใช้ระบบประมวลผลกลางของสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน
4. พิจารณาผลการเรียนของนักศึกษาและวิธีการเรียนการสอนตาม มคอ.3 เพื่อนำมาใช้ในการวางแผนและปรับปรุงวิธีการเรียนการสอนในภาคการศึกษาถัดไป