ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน

English for Everyday Communication

1.1  เลือกใช้คำศัพท์และสำนวนได้เหมาะสมตามสถานการณ์
1.2  อธิบายและแสดงความคิดเห็นตามสถานการณ์ที่กำหนด
1.3  ประยุกต์ทักษะฟัง พูด อ่าน เขียนในการสื่อสารตามบริบทต่างๆ
1.4  ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศในการฝึกทักษะทางการเรียนภาษาอังกฤษด้วยตนเอง  
 
     เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ฝึกปฏิบัติทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารในบริบทต่างๆ ในชีวิตประจำวัน
Practice English listening, speaking, reading and writing skills for daily communication in various contexts
วันจันทร์- ศุกร์ (ครั้งละ 1 ชั่วโมง)
ห้องพักอาจารย์  ชั้น 1  อาคาร 7  และ อาคารครองราชย์60ปี ชั้น 6 
(เฉพาะนักศึกษาที่ต้องการคำปรึกษาเป็นรายบุคคล)
˜ 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
˜ 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
    1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. สอดแทรกและส่งเสริมด้าน คุณธรรม จริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน
2. ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
3. ใช้กิจกรรมในการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. การส่งรายงานตรงเวลา
3. ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
   2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
    2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
˜ 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. Lecture
2. Flipped classroom
3. Cooperative Team Learning
4. Jigsaw Reading
5. Brainstorming,
6. Role play
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. แบบฝึกหัด
3. ตอบคำถามปากเปล่า
4. บทบาทสมมุติ
5. การนำเสนอ
6. การสอบกลางภาคและปลายภาค
7. การทดสอบย่อย
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. Lecture
2. Flipped classroom
3. Cooperative Team Learning
4. Jigsaw Reading
5. Brainstorming,
6. Role play
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. แบบฝึกหัด
3. ตอบคำถามปากเปล่า
4. สมมติบทบาท
5. การนำเสนอ
6. การสอบกลางภาคและปลายภาค
š 4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
˜ 4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
˜4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
 
1. Cooperative Team Learning
2. Role play
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. สมมติบทบาท
3. การนำเสนอ
   5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
   5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
˜5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. Cooperative Team Learning
2. Jigsaw Reading
3. Brainstorming,
4. Role play
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. สมมติบทบาท
3. การนำเสนอ
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 2.ด้านความรู้ 3.ด้านปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 2 3 4 1 1 2 3 1 2 3 4
1 GEBLC101 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2 (จิตพิสัย) การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
2 2.3, 3.2 ทดสอบย่อย 2 ครั้งๆละ 10 คะแนน 8, 16 20%
3 2.3 สอบกลางภาค 9 25%
4 2.3 สอบปลายภาค 17 25%
6 2.3, 3.2, 4.2, 5.3 - การนำเสนอ - งานที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
    Susan Stempleski (2017). Stretch 2A
http://www.oxfordlearn.com
นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอก
     เรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ
     ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย https://reg.rmutl.ac.th/
     หลักสูตรกำหนดให้มีการประเมินการสอนโดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดย               
     รองอธิการบดี มทร.ล้านนา ตาก จากผู้สังเกตการณ์สอนหรือทีมผู้สอน หรือผลการเรียนของนักศึกษา
      หลักสูตรมีการกำหนดกลไกและวิธีการปรับปรุงการสอนโดยการวิจัยในชั้นเรียน การประชุมเชิง
      ปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ฯลฯ
     โดยสุ่มจากนักศึกษาที่มีผลการเรียนที่น่าพอใจมาสัมภาษณ์ หรือให้ทำการทดสอบอีกครั้ง
     นำข้อมูลที่ได้จากการประเมินจากข้อ 1 และ 2 มาวางแผนเพื่อปรับปรุงรายวิชาเพื่อจัดปรับ  
     กระบวนการสอน และการประเมินผล ในภาคการศึกษาถัดไป