ปัญหาพิเศษทางพืชศาสตร์

Special Problems in Plant Science

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่างๆ ดังนี้ 1.1 รู้จักเอา ความรู้พื้นฐานและวิชาชีพทางพืช ทักษะพื้นฐานและทักษะวิชาชีพมาใช้ในการปฏิบัติเกี่ยวกับการผลิตพืชและศึกษา ทดลองทางด้านพืชศาสตร์ 1.2 เข้าใจหลักการและวิธีการศึกษาการผลิตพืชและปัญหาทางด้านพืชศาสตร์ 1.3 รู้จักดำเนินงานตามขั้นตอนที่ได้วางแผนการศึกษาและทดลอง 1.4 สามารถวิเคราะห์ สรุปผลเพื่อตอบคำถามจากสมมุติฐานที่ตั้งไว้
ปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยเหมาะสมกับสภาวะกาลปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการผลิต และปัญหาทางด้านพืชศาสตร์ แล้วเขียนรายงานที่ ถูกต้องตามหลักวิชาการ หรือ ศึกษาค้นคว้า ทดลอง และวิเคราะห์เพื่อให้ทราบถึงคำตอบหรือสาเหตุข้อสงสัยจากสมมุติฐานที่ตั้งไว้
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
    3.1 วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 15.00 – 17.00 น. อาคารพืชศาสตร์ 1   โทร 09-07539051
    3.2  e-mail;  janruangsaw@gmail.com, pattama_ja@rmutl.ac.th  ทุกวัน
1 มีคุณธรรม จริยธรรม 2 มีจรรยาบรรณ
1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย 2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
1. การสังเกตและการถาม-ตอบ 2. การเข้าชั้นเรียน การตรงต่อเวลา เคารพกฎกติกา 3. ความรับผิดชอบในหน้าที่ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่น 4. งานมอบหมาย
1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ
2 มีความรอบรู้
1. การสังเกตและการถาม-ตอบ 2. การทดสอบ/การสอบ 3. การนำเสนองานมอบหมาย แบบปากเปล่า ประกอบสื่อ power point และรายงานฉบับสมบูรณ์
1. การสังเกต 2. งานมอบหมาย 3. การนำเสนองานมอบหมาย แบบปากเปล่า ประกอบสื่อ power point และรายงานฉบับสมบูรณ์
1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ 2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากพื้นฐานความรู้ที่เรียน 3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการแสวงหาเรียนรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ
1 การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย 2 การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
1. การสังเกต การถาม-ตอบ 2. งานมอบหมาย 3. การนำเสนองานมอบหมาย แบบปากเปล่า ประกอบสื่อ power point และรายงานฉบับสมบูรณ์
1 ภาวะผู้นำ กล้าแสดงออก อกทน หนักแน่น เสียสละ ให้อภัย รับฟังความคิดของผู้อื่น และการปรับตัว 2 จิตอาสาและสำนักสาธารณะ มีน้ำใจ ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ต่อส่วนรวม
1 การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย 2 การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) 3 การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
1 การสังเกต 2 การถาม-ตอบ 3 งานมอบหมาย 4 มีความรับผิดชอบในหน้าที่และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
1 มีทักษะการสื่อสาร สามารถใช้ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ทั้งการฟัง การพูด และการเขียน เพื่อการสื่อสาร 2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการสื่อสาร การค้นคว้า และการนำเสนอผลงาน
1 การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย 2 การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) 3 กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
1 การสังเกต /การถาม-ตอบ 2 การวางแผนการทดลองและนำข้อมูลวิเคราะห์ทางสถิติ 3 การเลือกเครื่องมื่อ/เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการสืบค้น-สื่อสาร 4 การนำเสนองานมอบหมาย แบบปากเปล่า ประกอบสื่อ power point และรายงานฉบับสมบูรณ์
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 1 2 1
1 BSCAG115 ปัญหาพิเศษทางพืชศาสตร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1 มีคุณธรรม จริยธรรม มีการเข้าชั้นเรียน มีความรับผิดชอบ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่น ศรัทธาในความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ 1.2 มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพกฎกติกาของสังคมในชั้นเรียน 1. การสังเกตและการถาม-ตอบ 2. การเข้าชั้นเรียน การตรงต่อเวลา เคารพกฎกติกา 3. ความรับผิดชอบในหน้าที่ / สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่น 4. งานมอบหมาย ทุกสัปดาห์ 20%
2 2.1 มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพ ทั้งหลักการ ทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ความรู้ 2.2 มีความรอบรู้ในหลานสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องและสามารถประยุกร์ใช้ในการดำรงชีวิต 1. การสังเกตและการถาม-ตอบ 2. การทดสอบ/การสอบ 3. การนำเสนองานมอบหมายด้วยวาจา power point และรายงานฉบับสมบูรณ์ ทุกสัปดาห์ 30%
3 3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ 3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากพื้นฐานความรู้ที่เรียน 3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการแสวงหาเรียนรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ 1. การสังเกต การถาม-ตอบ 2. งานมอบหมาย 3. การนำเสนองานมอบหมายด้วยวาจา power point และรายงานฉบับสมบูรณ์ ทุกสัปดาห์ 30%
4 4.1 ภาวะผู้นำ กล้าแสดงออก อกทน หนักแน่น เสียสละ ให้อภัย รับฟังความคิดของผู้อื่น และการปรับตัว 4.2 จิตอาสาและสำนักสาธารณะ มีน้ำใจ ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ต่อส่วนรวม 1. การสังเกต การถาม-ตอบ 2. งานมอบหมาย 3. ความรับผิดชอบในหน้าที่ /สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ทุกสัปดาห์ 10%
5 5.1 มีทักษะการสื่อสาร สามารถใช้ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ทั้งการฟัง การพูด และการเขียน เพื่อการสื่อสาร 5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการสื่อสาร การค้นคว้า และการนำเสนอผลงาน 1. การสังเกต/การถาม-ตอบ 2. การวางแผนการทดลองและนำข้อมูลวิเคราะห์สถิติ 3. การเลือกเครื่องมื่อ/เทคโนโลยีสารสนเทศ 4. การนำเสนองานมอบหมายด้วยวาจา power point และรายงานฉบับสมบูรณ์ ทุกสัปดาห์ 10%
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร. มปป. คู่มือปัญหาพิเศษ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้าน. 46 น.
วารสารภาษาไทย เช่น วารสารวิชาการเกษตร, แก่นเกษตร, วารสารทางการเกษตรและเทคโนโลยีของมหาวิทยาลัยต่างๆ เช่น มก., มช., มข., มอ., มน., มจ., มวล., ม.สุรนารีฯ มจธ., สจล. ฯลฯ
 
รายงานปัญหาพิเศษทางพืชศาสตร์ ของรุ่นที่ผ่านมา
 
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
ประเมินโดยสาขาวิชา/หลักสูตร แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินหรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา/หลักสูตร
สาขาวิชา/หลักสูตรฯ กำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน นอกจากนี้ ควรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียน การสอน ควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชา/หลักสูตรฯ มีคณะกรรมการการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาและความเหมาะสมของการให้คะแนน โดยการสุ่มรายวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชา/หลักสูตรฯ มีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของหลักสูตร การรายงานรายวิชา โดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอสาขาวิชา / คณะ เพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป