การภาษีอากร 1

Taxation 1

1.1 เพื่อให้สามารถทราบถึงความสัมพันธ์ระหว่างการบัญชีกับการภาษีอากร
1.2. เพื่อให้สามารถทราบถึงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำบัญชี
1.3. เพื่อให้สามารถทราบการคำนวณภาษีตามประมวลรัษฎากร และการบันทึกบัญชี
1.4. เพื่อให้สามารถจัดทำบัญชีพิเศษ และรายงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1.5. เพื่อให้สามารถวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และภาษีเงินได้นิติบุคคล
1.6 มีความรู้ความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรณยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติ
ที่ดีต่อวิชาชีพ
1.7 มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบันและสังคม
1.8 มีความรู้ ความเข้าใจในองค์ความรู้ทางสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง สามารถบูรณาการ และนำมา
ประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
1.9 สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ
อย่างต่อเนื่อง
1.10 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
เพื่อเพิ่มเนื้อหาให้สอดคล้องกับกฎหมายภาษีอากรในปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไป ตามสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นแต่ละปีภาษี
ศึกษาหลักการ วิธีการและความจำเป็นที่รัฐต้องจัดเก็บภาษี แห่งรายรับของรัฐบาลความแตกต่างของรายรับอื่น ๆ ที่ไม่ได้มาจากการภาษีอากร นโยบายและส่วนประกอบภาษีอากร ปัญหาภาษีอากรที่เกิดขึ้นภายในประเทศ วิธีการจัดเก็บตามประมวลรัษฎากรซึ่งได้แก่ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ หลักและวิธีการจัดเก็บภาษีอากร ศุลกากร ภาษีสรรพสามิต และภาษีเฉพาะอย่างอื่น ๆ ซึ่งรัฐอาจกำหนดขึ้นตามความจำเป็นและสภาวะเศรษฐกิจ
Study of principal, procedures and purposes of government taw collection, government revenues, difference between tax and non-tax revenue; tax policy and structures, domestic tax problems, tax collection according to revenue code I’e’ personal income tax, corporate income tax, withholding tax, value added tax, specific business tax, revenue stamp as well as method of collecting tariff, excise and other specific taxes under government requirement based on needs and economic conditions.
45 ชั่วโมง
˜ 1.1.1 มีความรู้ความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรณยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติ
ที่ดีต่อวิชาชีพ
˜ 1.1.2 มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบันและสังคม
¡1.1.4 มีจิตสำนึก และพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตนอย่างมี
คุณธรรม
1.2.1 สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม คุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรณยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดี
ต่อวิชาชีพ เคารพในสิทธิของผู้อื่น และการอุทิศเวลาให้กับประโยชน์ส่วนรวม ในการสอนทุกครั้ง
1.2.2กำหนดกฎกติกาในการเข้าชั้นเรียนการส่งงาน การทำงานร่วมกับผู้อื่นในกลุ่ม
กำหนดให้นักศึกษาค้นคว้าหาตัวอย่างซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เกี่ยวกับการปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติ
ตามจรรยาบรรณในวิชาชีพ หรือคุณธรรมและจริยธรรม และนำมาอภิปรายในชั้นเรียน
1.3.1 การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ในเรื่องคุณธรรม
จริยธรรม คุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรณยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ การเคารพในสิทธิ
ของผู้อื่น จิตสำนึกในการคำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม และการแสดงออกอย่างสม่ำเสมอ
1.3.2 ประเมินผลจากพฤติกรรมการเข้าเรียน การส่งงาน และการมีส่วนร่วมในการในการทำงาน
ร่วมกับผู้อื่น และให้เป็นคะแนนจิตพิสัย
¡2.1.1 มีความรู้ ความเข้าใจ ในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี
˜2.1.2มีความรู้ ความเข้าใจในองค์ความรู้ทางสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง สามารถบูรณาการ ประสม
ประสานและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
¡2.1.3มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่นๆ โดยใช้วิธีการเรียนรู้จาก
ประสบการณ์
˜2.1.4สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและ
ภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
2.2.1 การสอนโดยบรรยายในแนวคิด ทฤษฎี แนวปฏิบัติ หลักการและวิธีการพร้อมทั้งยกตัวอย่าง
ประกอบ และให้นักศึกษาจัดทำแบบฝึกหัด
2.2.2การสอนโดยการบรรยายในแนวคิด ทฤษฎี แนวปฏิบัติ หลักการและวิธีการ และมอบหมายงานหรือกรณีศึกษาเป็นงานที่นักศึกษาต้องปฏิบัติ
2.3.1 การประเมินผลจากจัดทำรายงาน การนำเสนอผลงานหน้าชั้น และการมีส่วนร่วมในการแสดง
ความคิดเห็นในแต่ละครั้งที่มีการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2.3.2การประเมินผลจากการสอบกลางภาคเรียน และการสอบปลายภาคเรียน
2.3.3การประเมินผลจาก คุณภาพของการจัดทำรายงาน และการนำเสนอผลงาน
¡3.1.2 สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางด้านการบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ใช้ทักษะ
ทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหารวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ในสถานการณ์ต่าง ๆ
อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
¡ 3.1.3สามารถติดตาม ประเมินผลและรายงานผลได้อย่างถูกต้องครบถ้วน
3.2.1 การสอนโดยบรรยายในแนวคิด ทฤษฎี แนวปฏิบัติ หลักการและวิธีการพร้อมทั้งยกตัวอย่าง
ประกอบ และให้นักศึกษาจัดทำแบบฝึกหัด
3.2.2การสอนโดยการบรรยายในแนวคิด ทฤษฎี แนวปฏิบัติ หลักการและวิธีการ และมอบหมาย
งานหรือกรณีศึกษาเป็นงานที่นักศึกษาต้องปฏิบัติ
3.3.1 การประเมินผลจากจัดทำรายงาน การนำเสนอผลงานหน้าชั้น และการมีส่วนร่วมในการแสดง
ความคิดเห็นในแต่ละครั้งที่มีการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
3.3.2 การประเมินผลจากการสอบกลางภาคเรียน และการสอบปลายภาคเรียน
3.3.3 การประเมินผลจาก คุณภาพของการจัดทำรายงาน และการนำเสนอผลงาน
˜4.1.1 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
¡ 4.1.2 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และ
วัฒนธรรมองค์กรได้เป็นอย่างดี
¡ 4.1.4 มีความรับผิดชอบต่อการพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพของตนเองอย่างต่อเนื่อง
4.2.1 การสอนโดยการบรรยายในแนวคิด ทฤษฎี แนวปฏิบัติ หลักการและวิธีการ และมอบหมาย
งานหรือกรณีศึกษาเป็นงานที่นักศึกษาต้องปฏิบัติ
4.2.2 จัดให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาในวิชา ในลักษณะการแบ่งกลุ่ม
โดยแต่ละกลุ่มจะเป็นเนื้อหาที่แตกต่างกัน และให้จัดทำในรูปแบบรายงาน พร้อมทั้งนำเสนอหน้า
ชั้นเรียน
4.3.1การประเมินผลจากพฤติกรรม การจัดทำรายงาน การนำเสนอผลงานหน้าชั้น และการมีส่วน
ร่วมในการแสดงความคิดเห็นในแต่ละครั้งที่มีการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
4.3.2การประเมินผลจากพฤติกรรมการนำเสนอผลงานและการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นใน
แต่ละครั้งที่มีการนำเสนอหน้าชั้นเรียน ที่แสดงให้เห็นถึง การมีบทบาทในฐานะผู้นำหรือผู้ร่วม
ทีมงาน และมนุษย์สัมพันธ์ระหว่างเพื่อนร่วมชั้นเรียน และอาจารย์ผู้สอน
¡5.1.2 สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบการ
นำเสนอที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกัน
5.2.1 การสอนโดยบรรยายในแนวคิด ทฤษฎี แนวปฏิบัติ หลักการและวิธีการพร้อมทั้งยกตัวอย่าง
ประกอบ และมอบหมายงานให้นักศึกษาจัดทำแบบฝึกหัด หรือกรณีศึกษา
5.2.2 จัดให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาในวิชา ในลักษณะการแบ่งกลุ่ม
โดยแต่ละกลุ่มจะเป็นเนื้อหาที่แตกต่างกัน และให้จัดทำในรูปแบบรายงาน พร้อมทั้งนำเสนอหน้าชั้น
5.3.1 การประเมินผลจากพฤติกรรม การจัดทำรายงาน การนำเสนอผลงานหน้าชั้น
5.3.2 การประเมินผลจากพฤติกรรมการนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1.1 มีความรู้ความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรณยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติ ที่ดีต่อวิชาชีพ 1.1.2 มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบันและสังคม 1.1.4 มีจิตสำนึก และพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตนอย่างมี คุณธรรม 2.1.1 มีความรู้ ความเข้าใจ ในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี 2.1.2มีความรู้ ความเข้าใจในองค์ความรู้ทางสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง สามารถบูรณาการ ประสม ประสานและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม 2.1.3มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่นๆ โดยใช้วิธีการเรียนรู้จาก ประสบการณ์ 2.1.4สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง 3.1.2 สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางด้านการบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ใช้ทักษะ ทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหารวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ในสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ 3.1.3สามารถติดตาม ประเมินผลและรายงานผลได้อย่างถูกต้องครบถ้วน 4.1.1 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ 4.1.2 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และ วัฒนธรรมองค์กรได้เป็นอย่างดี 4.1.4 มีความรับผิดชอบต่อการพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพของตนเองอย่างต่อเนื่อง 5.1.2 สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบการ นำเสนอที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกัน
1 BACAC124 การภาษีอากร 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม - ประเมินผลจากการแสดงความคิดเห็นในเชิงคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพจากการอภิปราย กรณีเหตุการณ์จริง และกรณีศึกษา - ประเมินจากแบบบันทึกผลการปฏิบัติตามระเบียบ กฎเกณฑ์ต่างๆ และการให้คะแนนจากการกำหนดระเบียบวินัยในชั้นเรียน การเข้าห้องเรียน การตรงต่อเวลา 2-8 2-8, 10-16 10%
2 ด้านความรู้ - การสอบระหว่างภาคเรียนและปลายภาคเรียนเพื่อวัดประมวลความรู้และความเข้าใจตามเนื้อหาสาระรายวิชา -การประเมินและการให้คะแนนจากผลงานที่มอบหมาย 9,17 12-14 75%
3 ด้านทักษะทางปัญญา -ประเมินจากผลงานที่มอบหมายการนำเสนอ และอภิปราย 10, 12-14 5%
4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ -ประเมินจากแบบฝึกหัดและงานที่มอบหมาย ผลงานเดี่ยว ผลงานกลุ่ม และการนำเสนอผลงาน - พฤติกรรมการทำงานกลุ่ม การประเมินตนเองและสมาชิกในกลุ่ม 2-8, 10-16 5%
5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ -ประเมินจากผลงานที่มอบหมายการนำเสนอ และอภิปราย 10, 12-14 5%
รศ.สมคิด บางโม ภาษีอากรธุรกิจ ฉบับพิมพ์ที่ 21 ปรับปรุงใหม่ 2559
www.rd.go.th
เว็บไซด์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น www.rd.go.th www.fab.or.th
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
-การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
- การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน
- ผลการสอบ
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
- การสัมมนาของอาจารย์ผู้สอนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
- ทบทวนวิธีการสอน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน - มีการบูรณการณ์รายวิชากับ การบัญชีเบื้องต้น 1 ,กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ ในการจำลองธุรกิจ นักศึกษามีการบันทึกรายการบัญชี และคำนวณและบันทึกบัญชีเกี่ยวกับภาษีอากร
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษารวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อยและหลังการออกผลการเรียนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
-การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
- ทบทวนและปรับปรุง ลำดับเนื้อหาการสอน วิธีการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
มาตรฐานข้อสอบ
-ปรับปรุงรายวิชาทุกปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4