สหกิจศึกษาทางสัตวศาสตร์

Cooperative Education in Animal Science

1.1 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติงานในสาขาอาชีพของตนเอง รู้จักศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ที่เหมาะสมสำหรับการประกอบอาชีพให้มีความก้าวหน้า และรู้จักปรับตัวให้เท่าทันสถานการณ์ 1.2 สามารถนำความรู้ ทักษะในสาขาวิชาชีพไปประยุกต์ใช้ในการทำงานในสถานประกอบการจริง 1.3 สามารถศึกษา วิเคราะห์ วางแผน และปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายได้ 1.4 สามารถเรียนรู้และปรับตัวให้เข้ากับวัฒนธรรมองค์กรได้ รู้จักการเป็นผู้นำ/ผู้ตามที่ดี ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ด้วยความขยัน อดทน ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบ 1.5 มีทักษะในการสื่อสารที่ดี รู้จักนำความรู้ ทักษะทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์
เพื่อให้นักศึกษาได้บูรณาการความรู้ที่ได้ศึกษามาทั้งหมด ประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของตลาดแรงงานทางด้านการเกษตร เป็นการเพิ่มพูนประสบการณ์ โดยให้ผู้เรียนมีเวลามากพอสำหรับการเรียนรู้ทักษะในการปฏิบัติงานจากผู้ที่ความรู้และประสบการณ์โดยตรง ตลอดจนการศึกษาระบบการทำงาน การเรียนรู้วัฒนธรรมและค่านิยมขององค์กร
การปฏิบัติงานจริงเสมือนหนึ่งพนักงานในสถานประกอบการ ที่ดำเนินงานด้านสัตวศาสตร์เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์ นักศึกษาต้องผ่านการเตรียมอบรมความพร้อมก่อนไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ต้องจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา และนำเสนอผลงานในงานสัมมนาระหว่างนักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา หรืออาจารย์นิเทศ หลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานแล้ว การประเมินผลในรายวิชาเป็นระดับคะแนนพอใจ(S) และไม่พอใจ (U)
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion) 2.การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 3.การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 2.แฟ้มสะสมงาน 3.การเขียนบันทึก 4.การสังเกต 5.การสัมภาษณ์ 6.การนำเสนองาน 7.การประเมินตนเอง 8.การประเมินโดยเพื่อน
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของงานสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
 
1.การสอนแบบฝึกภาคสนาม 2.การสอนแบบสาธิต 3.การเรียนการสอนแบบบูรณาการ
 
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 2.การเขียนบันทึก 3.การสังเกต 4.การสัมภาษณ์ 5.การนำเสนองาน
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มานคิดและใช้อย่างมีระบบ
 
1.การเรียนการสอนแบบบูรณา 2.การสอนแบบฝึกภาคสนาม
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 2.การสังเกต 3.การสัมภาษณ์
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
 
1.การสอนแบบฝึกภาคสนาม 2.การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) 3. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
1.สถานการณ์จำลอง 2.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 3.การสังเกต 4.การสัมภาษณ์ 5.โครงการกลุ่ม
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 2.การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study) 3.การสอนแบบสัมมนา
1.แฟ้มสะสมงาน 2.การเขียนบันทึก 3.การนำเสนองาน 4.การสังเกต 5.การสัมภาษณ์
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง 6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ 6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติ เป็นธรรมชาติ
 
การสอนแบบฝึกภาคสนาม
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 2.การสัมภาษณ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 1.3 2.1, 2.2, 2.3 3.1, 3.2 4.1, 4.2, 4.3, 4.4 5.2 6.1, 6.2 1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง .แฟ้มสะสมงาน 2.การเขียนบันทึก 3..โครงการกลุ่ม 4.การสังเกต 5.การสัมภาษณ์ผู้ควบคุมการฝึกงาน ทุกสัปดาห์ 50%
2 1.1, 1.4 4.1, 4.2, 4.3 (นิเทศการฝึกงาน) 1.การสัมภาษณ์ผู้ควบคุมการฝึกงาน/เจ้าของสถานกประกอบการ 2.การประเมินโดยเพื่อน สัปดาห์ที่8 และ17 20%
3 1.1, 1.2, 1.3 5.1, 5.2, 5.3 1. แฟ้มสะสมงาน 2. การเขียนบันทึก 3. โครงการกลุ่ม 4. การนำเสนองาน 5. โครงการกลุ่ม 17 10 %
คู่มือสหกิศึกษา หนังสือและเอกสารด้านวิชาการที่เกี่ยวข้องกับงานทีนักศึกษาเลือกไปฝึกงาน เวปไซต์ที่เกี่ยวข้องกับงานทีนักศึกษาเลือกไปฝึกงาน
หนังสือและเอกสารด้านวิชาการที่เกี่ยวข้องกับงานทีนักศึกษาเลือกไปฝึกงาน เวปไซต์ที่เกี่ยวข้องกับงานทีนักศึกษาเลือกไปฝึกงาน
หนังสือและเอกสารด้านวิชาการที่เกี่ยวข้องกับงานทีนักศึกษาเลือกไปฝึกงาน เวปไซต์ที่เกี่ยวข้องกับงานทีนักศึกษาเลือกไปฝึกงาน
1.นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรม สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ตามแบบสอบถามของมหาวิทยาลัย 2.การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมและการสนทนาระหว่างนักศึกษาในกลุ่มที่ออกฝึกงานที่เดียวกัน
1.พนักงานพี่เลี้ยงหรือผู้ประกอบการประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาตามแบบที่กำหนดของการศึกษาสหกิจศึกษา การให้ข้อเสนอแนะแก่นักศึกษาในระหว่างนำเสนอผลการปฏิบัติงาน/กรณีศึกษา รวมถึงการแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะร่วมกับอาจารย์นิเทศ 2. อาจารย์ที่ปรึกษากรณีศึกษา บันทึกการขอคำปรึกษาจากนักศึกษา และให้คำปรึกษาแก่นักศึกษา 3. แจกแบบสอบถาม(ความพึงพอใจ/ข้อเสนอแนะฯลฯ) ให้กับนักศึกษา,พี่เลี้ยงหรือสถานประกอบการตอบตามความจริง
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา ประมวลผลการฝึกงานของนักศึกษาทุกๆด้าน จากผู้มีส่วนร่วมในการฝึกงานของนักศึกษา รายงานต่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร/ประธานหลักสูตร/หัวหน้าสาขาวิชาเพื่อทราบ 2. นำเสนอจากการแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นจากอาจารย์นิเทศกับสถานประกอบการ, ข้อมูล, ภาพรวมของการดำเนินงาน จุดแข็ง จุดอ่อนของสถานประกอบการต่างๆ เสนอคณะกรรมการหลักสูตร และนำแสดงไว้ในรายงานผลการดำเนินงานของหลักสูตร 3. ประชุมหลักสูตรหรือภาควิชา ร่วมกันพิจารณานำข้อเสนอแนะมาปรับปรุงสำหรับใช้ในรอบปีการศึกษาต่อๆไป
ตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบเล่มรายงานการฝึกภาคสนาม  ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการหรือตัวแทน
พิจารณาปรับปรุงตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 3-4