เทคโนโลยีการขยายพันธุ์พืช

Plant Propagation Technology

1.1 รู้ความหมาย และความสําคัญของการขยายพันธุ์พืช
1.2 รู้และสามารถผลิตเครื่องมือที่สําคัญในงานขยายพันธุ์พืชใช้เองได้
1.3 รู้และอธิบายเกี่ยวกับปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการขยายพันธุ์พืชได้
1.4 รู้และอธิบายและสามารถปฏิบัติการการขยายพันธุ์พืช ด้วยวิธีการต่างๆ ได้เช่น การติดตา ต่อกิ่ง เสียบกิ่ง ทาบกิ่ง เปลี่ยนยอด
1.5 รู้และอธิบายและสามารถปฏิบัติการเกี่ยวกับ วิธีการดูแลรักษาต้นพันธุ์ ภายหลังการดําเนินการขยายพันธุ์แล้วเสร็จได้
1.6 รู้และอธิบายเกี่ยวกับการใช้สารเคมี และเทคนิควิธีต่างๆ ในการขยายพันธุ์พืชได้
มีการจัดทําหลักสูตร เกษตรศาสตร์ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2560) ของมหาวิทยาลัย
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความสําคัญ เครื่องมืออุปกรณ์ในการขยายพันธุ์พืช ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง กับการขยายพันธุ์พืช การขยายพันธุ์พืชด้วยวิธีการต่างๆ การดูแลรักษาตันพันธุ์ที่ทําการขยายพันธุ์แล้ว การใช้สารเคมีและเทคนิคต่างๆ ในการขยายพันธุ์พืช
นักศึกษาขอคําปรึกษาและคําแนะนําได้ทาง E-mail : bunjong_19@hotmail.com โทร086-1876760
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง โดยเปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคําถามหรือตอบคําถามหรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับ คุณธรรม จริยธรรม ในชั้นเรียนใน โอกาสต่าง ๆ
1.2.2 ยกตัวอย่างกรณีศึกษาตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่และการประพฤติที่ผิดจรรยาบรรณในวิชาชีพ
1.2.3 อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่างให้ความสําคัญตัองมีจรรยาบรรณวิชาชีพการมีวินัยเรื่องเวลา การเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษาการเคารพและให้เกียรติแก่อาจารย์อาวุโส เป็นต้น
1.3.1 ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียนและในโอกาสที่สาขา/คณะจัดกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม การมีสัมมาคารวะต่อผู้อาวุโสและอาจารย์
1.3.2 การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียนการตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน และการส่งรายงาน
1.3.3 ประเมินการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นโดยนักศึกษาอื่น ๆ ในรายวิชา
1.3.4 นักศึกษาประเมินตนเอง
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญได้แก่การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทางโดยเน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมการสอนแบบร่วมมือ กันเรียนรู้ (Co Operative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเองการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ตการสอนแบบ e-Learning เป็นต้น
2.2.2 เพิ่มการสอนนอกห้องเรียนโดยศึกษาจากประสบการณ์จริงใน เรื่องที่ต้องสร้างความเข้าใจ
2.3.1 การสอบกลางภาคและสอบปลาย ภาค
2.3.2 ทํารายงานรายบุคคล
3.1.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ ทั้งทางด้านวิชาการ หรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนําความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.2.1 สามารถใช้ความรู้ทางทฤษฏีเพื่อการพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงานการผลิตไม้ผลที่มีคุณภาพในสถานที่จริง
3.2.2 สามารถร่วมจัดทําระบบเกษตรดีที่เหมาะสม (GAP) ในพื้นที่จริง
3.2.3 สามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น ต่อปัญหาทั้งในและนอกชั้นเรียน
3.3.1 ประเมินจากการตอบปัญหาและการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนทั้งรายบุคคลและกลุ่ม
3.3.2 รายงานกลุ่ม
3.3.3 การสอบข้อเขียนกลางภาค และปลายภาค
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นํา และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทํางานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนที่นักศึกษามีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับนักศึกษาอื่นและบุคคลภายนอก
4.2.2 มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทํางานตามกิจกรรมที่มอบหมายเพื่อให้นักศึกษาทํางานได้กับผู้อื่นโดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
4.2.3 กําหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทํางานกลุ่มอย่างชัดเจน
4.3.1 ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
4.3.2 ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา
4.3.3 ให้นักศึกษาประเมินสมาชิกในกลุ่มทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและด้านความรับผิดชอบ
4.3.4 ให้นักศึกษาประเมินนักศึกษาอื่น ๆ ในรายวิชาด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้นศึกษาวิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 ใช้ PowerPoint ที่น่าสนใจชัดเจนง่ายต่อการติดตามทําความเข้าใจประกอบการสอนในชั้นเรียน
5.2.2 การสอนโดยมีการนําเสนอข้อมูลจากการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ตเพื่อเป็นตัวอย่างกระตุ้นให้นักศึกษาเห็นประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนําเสนอและสืบค้นข้อมูล
5.2.3 การแนะนําเทคนิคการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูล
5.2.4 การมอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.2.5 การมอบหมายงานที่ต้องมีการนําเสนอทั้งในรูปเอกสารและด้วยวาจาประกอบสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3.1 ประเมินทักษะการใช้ภาษาเขียนจากเอกสารรายงาน
5.3.2 ประเมินทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการนําเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
5.3.3 ประเมินรายงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
6.1.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
6.1.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยํา
6.1.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
6.2.1 จัดเตรียมบทปฏิบัติการแล้วให้นักศึกษาทําการฝึกปฏิบัติและรายงานผลการปฏิบัติเพื่อให้คะแนนในภาคปฏิบัติการ
6.3.1 งานมอบหมายที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
6.3.2 การสังเกต
6.3.3 การนำเสนองาน  
6.3.4 การประเมินโดยเพื่อน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 3 1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
1 BSCAG106 เทคโนโลยีการขยายพันธุ์พืช
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 2.1, 3.1 6.1, 6.2, 6.3 รายงานจากบทปฏิบัติการ 1-18 20
2 1.3, 2.1, 4.3, 5.1, 5.2, 5.3 รายงานจากงานมอบหมาย 1-18 10%
3 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2 การสอบกลางภาค 9 30%
5 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2 การสอบปลายภาค 18 30%
6 1.1, 1.2, 1.3, 1.4 การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม 1-17 2%
7 1.3,4.1,4.2,4.3,4.4 การประเมินพฤติกรรมด้านความรับผิดชอบ 1-17 2%
8 1.1, 1.2, 1.3, 1.4 การประเมินตนเองของนักศึกษา พฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบ 1-17 2%
9 4.1, 4.2, 4.3, 4.4 การประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบในการทํางานกลุ่มโดยนักศึกษาสมาชิกกลุ่ม 1-17 2%
10 5.1, 5.2, 5.3 การประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมในชั้นเรียน โดยนักศึกษาอื่นๆ ในรายวิชา 1-17 2%
1) อนุชา จันทรบูรณ์. 2540. ไม้ผลเศรษฐกิจ. สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตน่าน. 245 หน้า.
2) อนุชา จันทรบูรณ์. 2550. หลักการไมผล้ . มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน. 424 หน้า.
1) กรมส่งเสริมการเกษตร. 2548. การส่งออกผลไมและผล ้ ิตภัณฑ์ที่สําคัญของไทย ปี 2544 – 2548 (ม.ค. – ก.ย.). (ระบบออนไลน์) แหล่งที่มา http://www.doae.go.th/data/fruit. (15 ต.ค. 2548).
2) นพดล จรัสสมฤทธ ั . 2537. ิ์ ไม้ผลเขตหนาว. สํานักพิมพ์รั้วเขียว, กรุงเทพฯ. 122 น.
3) บัญญัติ บุญปาล. 2522. หลกการท ั ําสวนไม้ผล. คณะเกษตรศาสตร์วิทยาลัยเทคโนโลยี และอาชีวศึกษา, ชลบุรี. 272 น.
4) มานิต มานิตเจริญ. 2539. พจนานุกรมไทย. บริษัทรวมสาส์น (1997) จํากัด วังบูรพา, กรุงเทพฯ. 1,142 น.
5) ระพีพรรณ ใจภักดี. 2544. ผลไม้ชุดที่ 1. สํานักพิมพ์แสงแดดเพื่อนเด็ก, กรุงเทพฯ. 72 น.
6) ราชบัณฑิตยสถาน. 2526. พจนานุกรม สํานักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์ถนนแพร่งสรรพศาสตร์, กรุงเทพฯ. 930 น.
7) ราชบัณฑิตยสถาน. 2541. ศัพท์พฤกษศาสตร์อังกฤษ – ไทย ห้างหุ้นสวนจ ่ ํากัด อรุณการพิมพ์เขตพระนคร, กรุงเทพฯ. 366 น.
8) วิจิตร วังใน. 2511. หลักการไม้ผล. แผนกวิชาพืชศาสตร์ (สาขาพืชสวน) คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพ ฯ. 307 น.
9) วิรัตน์ ชวาลกุล. 2538. ไม้ผลและการเพาะปลูก น.122 – 130 ใน บัณฑูรณ์วาฤทธิ์ (ผู้รวบรวม) หลักการพืชสวน. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ่ เชียงใหม่.
10) สมบุญ เตชะภิญญาวัฒน์. 2544. สรีรวิทยาของพืช. ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 237 น.
11) สัมฤทธิ์ เฟื่องจันทร์. 2527. หลักวิชาพืชสวน เล่ม 2. คณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น. 376 น.
12) สุเมธ เกตุวราภรณ์. 2537. ไม้ผลเบื้องต้น. สาขาวิชาไม้ผล ภาควิชาพืชสวน คณะผลิตกรรม การเกษตร สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ, ้เชียงใหม่. 210 น.
13) อนุชา จันทรบูรณ. 2534. ์ หลักการไม้ผล. คณะวิชาพืชศาสตร์สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตน่าน, น่าน. 73 น.
14) Cannell, M.G.R., 1989. Food crop potential of tropical tree. Experimental Agriculture 25 : 313 – 326
-
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชาซึ่งรวมถึงวิธีการสอนการจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียนสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ที่ได้รับและเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชาด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอนโดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยสาขาจากการสังเกตขณะสอนและการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขากําหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาแล้วจัดทํารายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ. กําหนดทุกภาคการศึกษาสาขากําหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน/การวิจัยในชั้นเรียน และมอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาที่มีปัญหาทําวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อยภาคการศึกษาละ 1 รายวิชา มีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขามีคณะกรรมการประเมินการสอนทําหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนนของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขาภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชาโดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษาผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของสาขา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอนหลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชาอาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้และนําเสนอ แนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดําเนินการของรายวิชาเสนอต่อหัวหน้าสาขาเพื่อนําเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจําหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสําหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป