วิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร

Agricultural Machinery Engineering

เพื่อให้นักศึกษา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกบั การประยุกต์หลักการทางวิศวกรรมสําหรับ เครื่องมือ เตรียมดิน เครื่องมือเพาะปลูก เครื่องมือที่ใช้กบสารเคมีเกษตร เครื่องมือเก ั ็บเกี่ยวหญ้าและธัญพืช เครื่องมือ เก็บเกี่ยวเมล็ด เครื่องมือเก็บเกี่ยวผัก หัว และผลไม้ เครื่องมือลําเลียงวัสดุทางการเกษตร เทคโนโลยี เครื่องจักรกลเกษตรและศึกษาดูงาน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็ นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนําความรู้ ความเข้าใจ  ในวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร ตั้งแต่ขั้นตอนการเตรียมดิน จนถึงการเก็บเกี่ยว อีกทั้งเพื่อเป็ นพื้นฐาน การเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สอดคล้องกบแนวโน้มด้าน เครื่องจักรเทคโนโลยีเครื่องจักรกลเกษตร ที่ ั ได้มีความกาวหน้าไปตามยุคสมัย ้
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกบั การประยุกต์หลักการทางวิศวกรรมสําหรับ เครื่องมือเตรียมดิน  เครื่องมือเพาะปลูก เครื่องมือที่ใช้กบสารเคมีเกษตร เครื่องมือเก ั ็บเกี่ยวหญ้าและธัญพืช เครื่องมือเก็บ เกี่ยวเมล็ด เครื่องมือเก็บเกี่ยวผัก หัว และผลไม้ เครื่องมือลําเลียงวัสดุทางการเกษตร เทคโนโลยี เครื่องจักรกลเกษตร เครื่องจักรและศึกษาดูงาน   
สอนเสริมตามความต้องการ ของนักศึกษาเฉพาะราย
ฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของส่วนบุคคล มี ความซื่อสัตย์ในวิชาชีพอยางมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี ่ ้ 1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต  1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม  1.1.3 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม  1.1.4 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 
 
 
 
.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอยางกรณีศึกษา เก ่ ี่ยวกบประเด็นทางจริยธรรมที่เก ั ี่ยวข้องกบั การดําเนิน ชีวิตในสังคม จริยธรรมการใช้เครื่องจักรกลเกษตร  
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้
มีความรู้เกี่ยวกบทฤษฎีและปฏิบัติเก ั ี่ยวกบั การประยุกต์หลักการทางวิศวกรรมสําหรับ เครื่องมือ เตรียมดิน เครื่องมือเพาะปลูก เครื่องมือที่ใช้กบสารเคมีเกษตร เครื่องมือเก ั ็บเกี่ยวหญ้าและธัญพืช เครื่องมือ เก็บเกี่ยวเมล็ด เครื่องมือเก็บเกี่ยวผัก หัว และผลไม้ เครื่องมือลําเลียงวัสดุทางการเกษตร เทคโนโลยี เครื่องจักรกลเกษตร การจัดการเครื่องจักรและศึกษาดูงาน    
บรรยายและ ปฏิบัติ การทํางานกลุ่ม และมอบหมายให้ค้นหา ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และการถาม ความรู้ที่ได้รับ 
2.3.1 ทดสอบกลางภาค สอบปลายภาค สอบปฏิบัติ ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
 พัฒนาความรู้ มีการวิเคราะห์ ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกบัการควบคุมและเทคโนโลยีเครื่องจักรกล เกษตร 
3.2.1 การบรรยายเรื่องที่เกี่ยวข้อง  
3.2.2 ทํารายงาน 
3.2.3 ศึกษาดูงาน อยางน้อย ่ 1 แห่ง
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค 
4.1.1 พัฒนาในการทํางานร่วมกนั 
4.1.2 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วน ตามกาหนดเวลา ํ 
4.2.1 มอบหมายงาน เช่น การใช้เครื่องจักรกลเกษตรและการบํารุงรักษา 
4.3.1 ประเมินจากการสอบ 
 5.1.1 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา 
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต 
 
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทํา รายงานโดยเน้นการนําตัวเลข จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
บรรยาย ศึกษาจาก 
อุปกรณ์จริง และ 
แนะนําเครื่องจักรกล เกษตร
 มีความรู้ ความชำนาญในการใช้เครื่องมือทางวิศวกรรมเกษตรและชีวภาพพื้นฐานได้เป็นอย่างดี 
บรรยาย มอบหมายงานให้่ค้่นคว้า  และ  นำสเนอ
ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม  ทัศนคติ  และ ผลการทดสอบทักษะ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใข้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGAG215 วิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค สอบปฏิบัติ การทํางานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย 8 17 30 % 30% 20% 20%
 - เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาเครื่องจักรกลเกษตร ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน รศ ํ .พันธุ์ พหลโยธิน ศิริ ลียวัฒนานุ พงศ์ และ ณรงค์ อุ่นคง 
- เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาปฏิบัติการเครื่องจักรกลเกษตร ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร  คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน รศ ํ .พันธุ์ พหลโยธิน ศิริ ลียวัฒนา นุพงศ์ และ ณรงค์ อุ่นคง 
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกบหัวข้อในประมวลรายวิชา ั
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทําโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนําแนวคิดและความเห็น จากนักศึกษาได้ดังนี้ 
1.1 สอบถามโดยตรง ระหวางผู้สอนและผู้เรียน ่  
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 
1.3 ข้อเสนอแนะผานเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทําเป็ นช ่ ่องทางการสื่อสารกบนักศึกษา ั  ของมหาวิทยาลัย 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา 
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน หาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุง การสอน เช่น เทคโนโลยีที่นํามาใช้กบเครื่องจักรกลเกษตร ั  
การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก   4.1 การสอบถามนักศึกษา โดยการสุ่มตัวบุคคล ถึงสิ่งที่เรียนมา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการ สอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะหรือตามความเป็ นไปได้ หรือตามความน่าจะเป็ น ตามปัจจุบัน  
5.2 หาผู้ที่มีความรู้เฉพาะมาบรรยาย 
5.3 หรือศึกษาดูงานที่เกี่ยวข้อง