การออกแบบและเขียนแบบ

Design and Drafting

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานในการเขียนแบบให้ถูกต้องตามหลักปฏิบัติสากล ทั้งการเขียนแบบด้วยมือและการเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ รวมถึงมีพื้นฐานในการอ่านแบบและออกแบบทางวิศวกรรม ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้
                    ศึกษาและปฎิบัติเกี่ยวกับการเขียนตัวอักษร การอ่านแบบ การเขียนแบบภาพฉาย และภาพ 3 มิติ การกำหนดขนาดและพิกัดความเผื่อ การเขียนแบบภาพตัด ภาพช่วย และแผ่นคลี่ การสเก็ตแบบ การเขียนภาพแยกชิ้นและภาพประกอบ การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบและเขียนแบบขั้นพื้นฐาน
-    อาจารย์ประจำรายวิชา แจ้งเวลาให้คำปรึกษา
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางต่างๆ ต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึง เข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพ  
ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในระยะเวลาที่กำหนด

1.2.2 สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเองและสังคม
ผู้สอนประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
1.3.1   การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา
1.3.2   พิจารณาจากการทำงานในระหว่างเรียน
1.3.3   การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือ                    ที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
2.1.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
บรรยาย อภิปราย พร้อมยกตัวอย่างลักษณะของงานที่เกี่ยวข้องกับการเขียนแบบทั้ง 2 มิติ และ 3 มิติ โดยให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติในการเขียนแบบด้วยมือและการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยเขียนแบบที่ทันสมัยมาช่วยในการเขียนแบบชิ้นงานที่มีลักษณะที่หลากหลาย
2.3.1   คะแนนแบบทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
2.3.2   คะแนนจากงานที่มอบหมายประจำสัปดาห์
  3.1.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดีและอย่างเป็นระบบ
  3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
  3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  3.1.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
  3.1.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเองเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
มอบหมายงานให้นักศึกษาทำระหว่างเรียนและงานประจำสัปดาห์เป็นรายบุคคล และงานกลุ่ม ตามหัวข้อต่างๆ
สังเกตุและประเมินจากผลงานที่นักศึกษาได้รับมอบหมายให้ทำและนำมาส่ง โดยพิจารณาความตรงต่อเวลาในการส่งงาน ความถูกต้องของชิ้นงาน และขั้นตอนวิธีการในการเขียนแบบ 
4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม
4.1.2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทผู้นำและผู้ร่วมทีมทำงาน
4.1.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.1.5 สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
4.2.1   ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานรายบุคคลและงานรายกลุ่ม
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล ตามใบงานที่กำหนดให้
4.3.1   ประเมินพฤติกรรมภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
4.3.2   ประเมินจากพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   พิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
5.1.1 สามารถใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ตลอดจนทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
 5.1.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการ แก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
 5.1.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพเพื่อประโยชน์ต่อวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง
5.1.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
 5.1.5 สามารถนำเสนอผลงานโดยใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการ และไม่เป็นทางการในวิชาชีพได้อย่างเหมาะสม  
5.2.1  ทำการสอนโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการเขียนแบบมาใช้เป็นสื่อในการเรียนการสอน
5.2.2  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ สื่อการสอน E-Learning จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ และนำมาใช้ในการเขียนแบบโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการเขียนแบบ
5.3.1   ประเมินจากพฤติกรรมและวิธีการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการเขียนแบบ
5.3.2   ประเมินจากผลงานของนักศึกษา
6.1.1 มีทักษะวิชาชีพในการปฏิบัติงานตามสมรรถนะวิชาชีพที่สถานประกอบการต้องการ
6.1.2 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และสามารถบูรณาการความรู้ที่เรียนมาเพื่อพัฒนาต่อยอดทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนางานได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
6.1.3 มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพของตนเอง
6.2.1  ทำการสอนโดยเน้นการฝึกถอดแบบและเขียนแบบจากชิ้นงานจริง โดยอ้างอิงการเขียนให้ตรงตามมาตรฐาน  
6.2.2  มอบหมายงานให้นักศึกษาทำในระหว่างเรียนและงานประจำสัปดาห์
6.3.1  ประเมินผลจากคะแนนงานที่ได้รับมอบหมายในระหว่างเรียนและงานประจำสัปดาห์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 2 1 5 1 1
1 ENGCC501 การออกแบบและเขียนแบบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านความรู้ สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 และ 17 โดยประมาณ 40
2 ด้านคุณธรรม จริยธรรม การส่งงานตามที่มอบหมาย ความตรงเวลา ทำงานด้วยตนเอง ทุกสัปดาห์ 10
3 ด้านทักษะพิสัย ประเมินผลจากงานที่ได้รับมอบหมายในระหว่างเรียนและงานประจำสัปดาห์ ทุกสัปดาห์ 50
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, เอกสารประกอบการเรียน “พื้นฐานการเขียนแบบวิศวกรรม 2103105” http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~kjirapon/index.html
ธีระพล เมธีกุล, การฝึกเขียนรูปภาพงานช่างอุตสาหกรรม, ISBN 974-620-544-7.
Cecil Jensen, Jay D. Helsel and Dennis R. Short, Engineering Drawing & Design. 7th ed., McGraw-Hill, 2008.
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ