โรคพืชและการป้องกันกำจัด

Plant Diseases and Their Control

1. รู้ความหมาย ความสำคัญ และความเป็นมาของวิชาโรคพืช
2. เข้าใจเกี่ยวกับโรคพืช การจำแนกลักษณะอาการ และการแพร่กระจายของโรค
3. รู้ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและวิธีการแพร่ระบาดของโรค
4. เข้าใจและแก้ไขปัญหาโรคพืชที่สำคัญทางเศรษฐกิจได้
5. มีทักษะการใช้เครื่องมืออุปกรณ์ทางโรคพืช การเก็บตัวอย่างโรคพืช และการวินิจฉัยโรค
6. มีเจตคที่ดีต่อการศึกษาค้นคว้าและติดตามความก้าวหน้าทางด้านโรคพืช
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะในสาขาวิชาชีพที่ทันสมัยให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีสารสนเทศที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัยและสามารถตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความรู้ทั่วไปของโรคพืช ลักษณะอาการโรคพืช และสิ่งที่แสดงให้เห็น กระบวนการเกิดโรคพืช โรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา โรคพืชที่เกิดจากแบคทีเรีย โรคพืชที่เกิดจากไส้เดือนฝอยและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ โรคพืชที่เกิดจากเชื้อไวรัสและไฟโตพลาสมา โรคพืชที่เกิดจากสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม หลักการและวิธีการจัดการโรคพืช
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์ของพื้นที่ - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และกำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม และประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
ศึกษาเกี่ยวกับความรู้ทั่วไปของโรคพืช ลักษณะอาการโรคพืช และสิ่งที่แสดงให้เห็น กระบวนการเกิดโรคพืช โรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา โรคพืชที่เกิดจากแบคทีเรีย โรคพืชที่เกิดจากไส้เดือนฝอยและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ โรคพืชที่เกิดจากเชื้อไวรัสและไฟโตพลาสมา โรคพืชที่เกิดจากสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม หลักการและวิธีการจัดการโรคพืช
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี และประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยี
การนำเสนอผลงาน และวิเคราะห์กรณีศึกษาในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การมีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ
มอบหมายงานรายกลุ่ม และการนำเสนอรายงาน
ประเมินจากรายงานที่นำเสนอพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ และนำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ และนำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การแก้ไขปัญหาบนพื้นฐานการใช้นวัตกรรม และการนำเสนอผลงาน จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา มอบหมายงานรายกลุ่ม และการนำเสนอรายงาน มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ และนำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1 03011206 โรคพืชและการป้องกันกำจัด
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 รู้และความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้ทั่วไปของโรคพืช ลักษณะอาการโรคพืช และสิ่งที่แสดงให้เห็น กระบวนการเกิดโรคพืช โรคพืชที่เกิดจากไส้เดือนฝอยและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ และโรคพืชที่เกิดจากสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม สอบกลางภาคการศึกษา 9 25%
2 รู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา โรคพืชที่เกิดจากแบคทีเรีย โรคพืชที่เกิดจากเชื้อไวรัสและไฟโตพลาสมา และ หลักการและวิธีการจัดการโรคพืช สอบปลายภาคการศึกษา 18 25%
3 ทักษะปฏิบัติการเกี่ยวกับโรคพืช การทดสอบทักษะทางโรคพืชในเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 50%
1. Agrios, G. N. 2005. Plant Pathology. 5th Edition. Elseviev Academic Press, New York, USA. 922p. 2. Trigiano, R.N., Windham, M.T., and Windham, A.S. 2004. Plant Pathology: Concepts and Laboratory Exercises. CRC Press, New York, USA. 702p.
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเฟรซบุ๊คที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ