โรคพืชและการควบคุม

Plant Diseases and Their Controls

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะเกี่ยวกับความสำคัญและการพัฒนาการทางโรคพืชที่มีผลต่อทางการเกษตร เชื้อสาเหตุและการแพร่ระบาด การเข้าทำลายของโรค อาการของโรค การวินิจฉัยโรค การพยากรณ์โรค ระบบการป้องกันตนเองของพืช การควบคุมโรคพืชด้วยวิธีการต่างๆ มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ สามารถนำความรู้หลายสาขามาประยุกต์ในการดำรงชีพได้ สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ และมีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะในสาขาวิชาชีพที่ทันสมัยให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีสารสนเทศที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัยและสามารถตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ศึกษาความสำคัญและการพัฒนาการทางโรคพืชที่มีผลต่อทางการเกษตร เชื้อสาเหตุและการแพร่ระบาด การเข้าทำลายของโรค อาการของโรค การวินิจฉัยโรค การพยากรณ์โรค ระบบการป้องกันตนเองของพืช และการควบคุมโรคพืชด้วยวิธีการต่างๆ
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์ของพื้นที่
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1.2.2 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1.3.1 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.2 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
มีความรู้เกี่ยวกับความสำคัญและการพัฒนาการทางโรคพืชที่มีผลต่อทางการเกษตร เชื้อสาเหตุและการแพร่ระบาด การเข้าทำลายของโรค อาการของโรค การวินิจฉัยโรค การพยากรณ์โรค ระบบการป้องกันตนเองของพืช การควบคุมโรคพืชด้วยวิธีการต่างๆ และสามารถนำความรู้หลายสาขามาประยุกต์ในการดำรงชีพได้
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
พัฒนาความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากพื้นฐานความรู้ที่เรียนเพื่อพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ได้
3.2.1 การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาบนพื้นฐานการใช้นวัตกรรม และการนำเสนอผลงาน
3.2.2 วิเคราะห์กรณีศึกษา ในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์
การมีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่ม
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
ประเมินจากรายงานที่นำเสนอพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
5.1.1 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร
5.1.2 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และกำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาบนพื้นฐานการใช้นวัตกรรม และการนำเสนอผลงาน และวิเคราะห์กรณีศึกษา ในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา อบหมายงานรายกลุ่ม และการนำเสนอรายงาน มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ และนำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1 BSCAG110 โรคพืชและการควบคุม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 มีความรู้เกี่ยวกับความสำคัญและการพัฒนาการทางโรคพืชที่มีผลต่อทางการเกษตร เชื้อสาเหตุและการแพร่ระบาด การเข้าทำลายของโรค อาการของโรค สอบกลางภาคการศึกษา 9 25%
2 มีความรู้เกี่ยวกับการวินิจฉัยโรค การพยากรณ์โรค ระบบการป้องกันตนเองของพืช การควบคุมโรคพืชด้วยวิธีการต่างๆ และสามารถนำความรู้หลายสาขามาประยุกต์ในการดำรงชีพได้ สอบปลายภาคการศึกษา 17 25%
3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และพัฒนาความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากพื้นฐานความรู้ที่เรียนเพื่อพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ได้ รายงานการวิเคราะห์กรณีศึกษาแปลงปลูกพืชตัวอย่าง ตลอดภาคการศึกษา 5%
4 การมีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ และทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม นำเสนอรายงานการวิเคราะห์กรณีศึกษาแปลงปลูกพืชตัวอย่าง ตลอดภาคการศึกษา 5%
5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ การเข้าชั้นเรียนและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ตลอดภาคการศึกษา 10%
6 มีความรู้เกี่ยวกับความสำคัญและการพัฒนาการทางโรคพืชที่มีผลต่อทางการเกษตร เชื้อสาเหตุและการแพร่ระบาด การเข้าทำลายของโรค อาการของโรค การวินิจฉัยโรค การพยากรณ์โรค ระบบการป้องกันตนเองของพืช การควบคุมโรคพืชด้วยวิธีการต่างๆ สามารถนำความรู้หลายสาขามาประยุกต์ในการดำรงชีพได้ และพัฒนาความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากพื้นฐานความรู้ที่เรียนเพื่อพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ได้ ปฏิบัติการ ตลอดภาคการศึกษา 30%
1. Agrios, G. N. 2005. Plant Pathology. 5th Edition. Elseviev Academic Press, New York, USA. 922p.
2. Trigiano, R.N., Windham, M.T., and Windham, A.S. 2004. Plant Pathology: Concepts and Laboratory Exercises. CRC Press, New York, USA. 702p.
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเฟรซบุ๊คที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ