การทำความเย็นและปรับอากาศ
Refrigeration and Air–Conditioning
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับหลักการพื้นฐานทางเทอร์โมไดนามิกส์ การทำความเย็นแบบอัดไอ วัฎจักร การทำความเย็นแบบอัดไอ คุณสมบัติของอากาศและ
กระบวนการปรับอากาศ อุปกรณ์ในระบบท าความเย็น สารท าความเย็น ภาระของการทำความเย็นและปรับอากาศ ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับระบบท่อท าความเย็น
การทำสุญญากาศและเติมสารทำความเย็น การติดตั้งเครื่องปรับอากาศ การทดลองระบบเครื่องทำความเย็นแบบอัดไอ และการตรวจสอบบำรุงรักษา
เพื่อมีความรู้และสามารถปฏิบัติการเกี่ยวกับหลักการพื้นฐานทางเทอร์โมไดนามิกส์ การทำความเย็นแบบอัดไอ วัฎจักร การทำความเย็นแบบอัดไอ คุณสมบัติของอากาศและ
กระบวนการปรับอากาศ อุปกรณ์ในระบบท าความเย็น สารท าความเย็น ภาระของการทำความเย็นและปรับอากาศ ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับระบบท่อท าความเย็นการทำสุญญากาศและเติมสารทำความเย็น การติดตั้งเครื่องปรับอากาศ การทดลองระบบเครื่องทำความเย็นแบบอัดไอ และการตรวจสอบบำรุงรักษา
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับหลักการพื้นฐานทางเทอร์โมไดนามิกส์ การทำความ
เย็นแบบอัดไอ วัฎจักร การทำความเย็นแบบอัดไอ คุณสมบัติของอากาศและ
กระบวนการปรับอากาศ อุปกรณ์ในระบบท าความเย็น สารท าความเย็น ภาระ
ของการทำความเย็นและปรับอากาศ ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับระบบท่อท าความเย็น
การทำสุญญากาศและเติมสารทำความเย็น การติดตั้งเครื่องปรับอากาศ การ
ทดลองระบบเครื่องทำความเย็นแบบอัดไอ และการตรวจสอบบำรุงรักษา
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษา
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การ มีความซื่อสัตย์ในการทดลองปฏิบัติงานอย่างมีมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถปฏิบัติงานการติดตั้งฟ้าโดยมีความปลอดภัยและแก้ไขในปัญหาในการทำงาน
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถปฏิบัติงานการติดตั้งฟ้าโดยมีความปลอดภัยและแก้ไขในปัญหาในการทำงาน
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมและยกตัวอย่าง เกี่ยวกับประเด็นคุณธรรมทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับทฤษการทำความเย็นและปรับอากาศ(ออนไลน์)และปฏิบัติงานการทำความเย็นและปรับอากาศ เช่น การดัดท่อทองแดง
2 .สาธิตการปฏิบัติงานการทำความเย็นและปรับอากาศ
2 .สาธิตการปฏิบัติงานการทำความเย็นและปรับอากาศ
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4 ประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมาย
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4 ประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมาย
มีความรู้ในหลักการพื้นฐานทางเทอร์โมไดนามิกส์ การทำความเย็นแบบอัดไอวัฏจักร คุณสมบัติของอากาศและกระบวนการปรับอากาศ อุปกรณ์ในระบบการทำความเย็น สารทำความเย็น ภาระของการทำความเย็นและปรับอากาศ
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ แบบฝึกหัดในการคิดวิเคราะห์ (ออนไลน์)
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการทางทฤษฏี
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการปฏิบัติงาน
3.2.1 สามารถคิดวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาจากการออกแบบระบบทำความเย็นและปรับอากาศ
3.2.2 การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.3 อภิปรายกลุ่ม
3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.2.2 การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.3 อภิปรายกลุ่ม
3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค
3.3.2 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
3.3.2 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การติดตั้งไฟฟ้าภายในและนอกอาคาร
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การติดตั้งไฟฟ้าภายในและนอกอาคาร
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีมและการปฏิบัติงานตามาตฐาน
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีมและการปฏิบัติงานตามาตฐาน
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ เอกสาร ตำราเรียน
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
มีทักษะปฏิบัติงานการทำความเย็นและปรับอากาศ การดัดท่อ การขยายท่อ เชื่อท่อ รวมทั้งถึงการซ่อมบำรุงและติดตั้งเครื่องทำความเย็นและปรับอากาศ
1.สาธิตการปฏิบัติงานการทำความเย็นและปรับอากาศ
2.ใบงาน
2.ใบงาน
1.หลักการทำงานและทักษะในการปฏิบัติงาน มีความถูกต้องสวยงามและปลอดภัย
2.ผลงาน
3.การทำงานร่วมกัน
2.ผลงาน
3.การทำงานร่วมกัน
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 10% สอบกลางภาค 10% ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 10% สอบปลายภาค 10% วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน 10% การปฏิบัติงาน 40 % การเข้าชั้นเรียน 10% รวม 100% | 1.1,1.6, 1.7, 2.1, 2.4 – 2.6, 3.2 ,1.1, 1.6, 1.7, 2.1, .2.4 – 2.6, 3.2,4.1 – 4.6,5.3-5.41.1 – 1.7, 3.1 | 4 8 12 17 |
เอกสารประกอบการสอนเครื่องทำความเย็นและปรับอากาศ
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2.แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ