สัมมนาทางการประมง

Seminar for Fisheries

1  มีความเข้าใจวิธีค้นคว้า รวบรวม เรียบเรียงและการนำเสนอข้อมูลอย่างเป็นระบบ
          2  มีทักษะในการนำเสนอรายงานอย่างถูกต้อง
          3  มีเจตคติที่ดีต่อการศึกษา ค้นคว้าหาความก้าวหน้าทางวิชาการ
๑.  เพื่อให้เนื้อหาสมบูรณ์และสอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจุบัน
การอภิปรายปัญหา  การนำเสนอรายงาน   ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีใหม่ ๆ เกี่ยวกับการประมง การนำเสนอรายงานทางวิชาการหรืองานวิจัย นำเสนอในที่ประชุมอย่างเป็นระบบ
จัดให้นักศึกษาเข้าพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการที่เกี่ยวข้องสัปดาห์ละ ๑ ชั่วโมง โดยอาจารย์จะแจ้งวันและเวลาให้นักศึกษาทราบ
๑.๑.๑  มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม และจริยธรรม
๑.๑.๒  มีจรรยาบรรณทางวิชาการ และวิชาชีพทางประมง
              ๑.๑.๓  มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
๑.๑.๔   เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
         
          ข้อ  ๑.๑.๑, ๑.๑.๒, ๑.๑.๓ และ ๑.๑.๔ เป็นความรับผิดชอบหลัก
๑.๒.๑   กำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติให้นักศึกษาต้องถือปฏิบัติในการเรียนรายวิชานี้ เช่น การตรงเวลา  การมีวินัยในห้องเรียน รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย ปฏิบัติตนตามกฎระเบียบ และข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
                   ๑.๒.๒  หากมีการนำข้อความจากแหล่งความรู้ต่างๆ เพื่อทำรายงาน ต้องมีการอ้างอิงเพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของผลงาน  และเสนอข้อมูลตรงตามข้อเท็จจริง
                   ๑.๒.๓  การอภิปรายกลุ่ม
๑.๓.๑  นักศึกษาต้องมีเวลาเข้าเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมด
                   ๑.๓.๒  ร้อยละ 90 ของนักศึกษา ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่อาจารย์กำหนด เช่น การตรงต่อเวลา  การมีวินัย  ความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย  ปฏิบัติตนตามระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย
         ๑.๓.๓  มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
                                ๑.๓.๔  ประเมินจากการอภิปรายกลุ่ม
๒.๑.๑  มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ และทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
                   ๒.๑.๒  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา                      ๒.๑.๓  สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
          ข้อ ๒.๑.๑ และ ๒.๑.๒ เป็นความรับผิดชอบหลัก
          ข้อ ๒.๑.๓  เป็นความรับผิดชอบรอง
๒.๒  วิธีการสอน
                   ๒.๒.๑  อภิปรายกลุ่มตามหัวข้อในการสัมมนาของแต่ละกลุ่มย่อย
                   ๒.๒.๒  ค้นคว้างานวิชาการหรือเอกสารที่เกี่ยวข้องกับ พร้อมทั้งรายงานความก้าวหน้า
                   ๒.๒.๓  นำเสนองาน
๒.๓  วิธีการประเมินผล 
                   ๒.๓.๑  รายงานผลและความก้าวหน้า
                   ๒.๓.๒  การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและนำเสนองาน
๓.๑   ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
๓.๑.๑  มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
                   ๓.๑.๒ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ               
          ข้อ  ๓.๑.๑ และ ๓.๑.๒  เป็นความรับผิดชอบรอง
๓.๒.๑  กระตุ้นให้นิสิตคิดวิเคราะห์ ร่วมอภิปรายปัญหาต่าง ๆ กับอาจารย์ ตลอดจนให้นิสิตศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
๓.๒.๒  มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์ และสังเคราะห์
๓.๓.๑  ประเมินจากการร่วมอภิปรายกลุ่ม
                   ๓.๓.๒  ประเมินผลการปฏิบัติในสถานการณ์จริง
๔.๑.๑  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
๔.๑.๒  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
                    ๔.๑.๓  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม                                 ๔.๑.๔  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
          ข้อ  ๔.๑.๑ และ ๔.๑.๓  เป็นความรับผิดชอบหลัก
          ข้อ  ๔.๑.๒ และ ๔.๑.๔ เป็นความรับผิดชอบรอง
๔.๒.๑  มอบหมายงานให้นักศึกษาทำเป็นกลุ่ม
๔.๓.๑  ประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานที่ได้รับมอบหมายของกลุ่ม
                   ๔.๓.๒  สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง
๕.๑.๑  สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
๕.๑.๒  สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
                   ๕.๑.๓  สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ  ๕.๑.๓  เป็นความรับผิดชอบหลัก
ข้อ  ๕.๑.๑ และ ๕.๑.๒  เป็นความรับผิดชอบรอง
๕.๒.๑  นำเสนอผลงานด้วยภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้อง
                   ๕.๒.๒  กำหนดให้นักศึกษาใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร ค้นคว้า และใช้ในการนำเสนอผลงาน
                   ๕.๒.๓  ให้ค้นคว้าในการจัดทำรายงานผ่านฐานข้อมูลหรือวารสารที่เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
๕.๓.๑  ประเมินจากการนำเสนอผลงานและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
                   ๕.๓.๒  ประเมินจากผลรายงานและความก้าวหน้า ว่ามีการใช้วารสาร หนังสือ หรือฐานข้อมูลที่เป็นภาษาอังกฤษหรือไม่
๖.๑.๑  มีพัฒนาการทางด้านร่างกาย  เป็นความรับผิดชอบหลัก
          
                                     
๖.๒.๑  ฝึกท่าทางและการแสดงออกในการนำเสนอผลงาน
๖.๓.๑   สังเกตจากการแสดงออกขณะเสนอผลงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ๑.๑.๑, ๑.๑.๒,๑.๑.๓, ๑.๑.๔ การเข้าชั้นเรียน/ความสนใจ/ความตรงต่อเวลา ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 10
2 ๑.๑.๒, ๑.๑.๓, ๒.๑.๑, ๒.๑.๒, ๕.๑.๒, ๕,๑,๓ รายงานผลการสัมมนา ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 10
3 ๑.๑.๓,๑.๑.๔, ๒.๑.๒, ๔.๑.๒, ๔.๑.๓ งานที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ ๒๐
4 ๑.๑.๑, ๒.๑.๑, ๒.๑.๓, ๓.๑.๒, ๔.๑.๑, ๔.๑.๒, ๔.๑.๔, ๕.๑.๓,๖.๑.๑ อภิปรายกลุ่มย่อย ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ ๑๐
5 ๑.๑.๓, ๒.๑.๑, ๒.๑.๒, ๓.๑.๑, ๕.๑.๓, ๖.๑.๑ การจัดสัมมนากลุ่มใหญ่ สัปดาห์ที่ 15-16 ร้อยละ 40
6 ๕.๑.๑ สื่อที่ใช้ในการนำเสนองาน ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ ๑๐
เกษกานดา  สภาพจน์.  ๒๕๔๙.  การจัดสัมมนา. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
กรุงเทพมหานคร.
ไพพรรณ เกียรติโชติชัย.  ๒๕๔๖.  หลักการสัมมนา.  บ. การศึกษา จำกัด, กรุงเทพมหานคร.
วารสารหรือเอกสารการวิจัยทางการประมง
๑.๑  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
          ๑.๒  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
    ๒.๑   ผลการเรียนของนักศึกษา
    ๒.๒   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
๓.๑   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
          ๓.๒  ปรับปรุงการสอนตามผลการประเมินผู้สอนเป็นรายวิชา
๔.๑  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
          ๔.๒   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยร่วมรับฟังการสัมมนา  รายงาน และการให้คะแนนพฤติกรรม
๕.๑   ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4