สัตว์น้ำไม่มีกระดูกสันหลัง

Aquatic Invertebrates

1.1  เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจลักษณะรูปร่าง สัณฐาน และกายวิภาคของสัตว์น้ำไม่มีกระดูกสันหลัง
1.2  เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจการจัดจำแนกกลุ่มของสัตว์น้ำไม่มีกระดูกสันหลัง
1.3  เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจลักษณะทางสรีระวิทยาที่สัมพันธ์กับการดำรงชีวิต ลักษณะที่อยู่อาศัย และสภาพแวดล้อมของสัตว์น้ำไม่มีกระดูกสันหลัง
1.4  เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจวิธีการและปฏิบัติการศึกษาลักษณะทางกายวิภาคของสัตว์น้ำไม่มีกระดูกสันหลัง
เมื่อเรียนรายวิชานี้แล้ว สามารถนำความรู้ ความเข้าใจ ไปจำแนกความแตกต่างของสัตว์น้ำไม่มีกระดูกสันหลังในแต่ละไฟลัมได้ในภาคปฏิบัติ
 
 
 มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาให้ทันสมัย พร้อมทั้งสอดคล้องกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน และเพิ่มกิจกรรมให้นักศึกษา โดยมอบหมายให้นักศึกษาแต่งเพลงสรุปเนื้อหาที่ได้เรียนให้สอดคล้องกัน
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับประเภท และการจัดอนุกรมวิธาน ลักษณะทางสัณฐานวิทยาและสรีรวิทยาของสัตว์น้ำไม่มีกระดูกสันหลังตามประเภทต่างๆ ทั้งในน้ำจืด น้ำกร่อยและน้ำทะเล  
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
    3.1 ทุกวัน เวลา 16.00 - 17.00 น. ห้องพักอาจารย์สาขาวิชาประมง
    3.2  E-mail; suphattaracha_turakit@hotmail.com  เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
     - บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์  การตรงต่อเวลาที่กำหนด และแนะนำถึงผลดีของการตรงต่อเวลา  ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์  อาจารย์ผู้สอนปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ให้นักศึกษามีระเบียบวินัยในการเข้าชั้นเรียน โดยอาจารย์เข้าชั้นเรียนตรงต่อเวลา และเลิกชั้นเรียนตรงต่อเวลา
     - พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา       มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม      ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
     - บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอรายงาน และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
     - ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี ประเมินจาก
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา ศึกษาจากประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้แล้ว โดยแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม ภายในกลุ่มจะต้องกำหนดแนวทางไปสู่การแก้ปัญหาหรือเสนอแนวทางปฏิบัติที่มีความน่าเชื่อถือและความเป็นไปได้
     - ประเมินจากการตอบปัญหาในชั้นเรียน  การสอบย่อย (Quiz)  การสอบกลางภาคและปลายภาค  และการนำเสนอผลงานทั้งแบบรายบุคคลและกลุ่ม รวมทั้งการแต่งเนื้อเพลงเกี่ยวกับเนื้อหาในบทเรียน ออกมาเป็นเพลงที่สามารถทำให้จดจำได้มากขึ้น
4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
š4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
˜4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- สอนโดย มีกิจกรรมทำงานเป็นกลุ่ม และมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามภาระงานที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่นได้ โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด และอาจมีกิจกรรมเสริมในชั้นเรียน
     - การประเมินจากการแสดงออกอย่างมีส่วนร่วมในชั้นเรียน และประเมินผลงานจากรายงานของนักศึกษาทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม
5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communication  and Information Technology Skills)
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
     - มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง, แนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลทั้งจากอินเตอร์เน็ตและหนังสือในห้องสมุด, ทำรายงานโดยเน้นแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม เช่น Power point  
     - ประเมินจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงานของนักศึกษา การสอบย่อย (Quiz) ในชั้นเรียน
6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
     - มีการจัดการเรียนการสอนให้นักศึกษาได้จำแนกชนิดของสัตว์น้ำไม่มีกระดูกสันหลังด้วยตนเอง และให้ถูกต้องแม่นยำ และสามารถใช้เครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ ในภาคปฏิบัติได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
     - ประเมินจากขั้นตอน วิธีการปฏิบัติ และผลสำเร็จของงานจากผลการสอบภาคปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ .ด้านทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 3,4 1,2 1,3 2 1,2 2 1,3,4 1,3 2 1,2,3
1 23012303 สัตว์น้ำไม่มีกระดูกสันหลัง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.3 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 และ 18 สอบกลางภาค 30% และสอบปลายภาค 30%
2 4.2, 5.1, 5.3 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน, การทำงานกลุ่มและผลงาน, การอ่านและสรุปบทความ, การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 30
3 1.3, 1.4 การเข้าชั้นเรียน, การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 10
บพิธ  จารุพันธ์. 2546. สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง I. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 416 น. ____________. 2546. สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง II. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 675 น. ลัดดา  วงศ์รัตน์. 2544. แพลงก์ตอนสัตว์. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
บทความเกี่ยวกับสัตว์น้ำไม่มีกระดูกสันหหลังต่าง ๆ จากเว็ปไซต์ต่าง ๆ  และอื่น ๆ ตามความเหมาะสมของเหตุการณ์และความเป็นปัจจุบัน
บทความเกี่ยวกับสัตว์น้ำไม่มีกระดูกสันหหลังต่าง ๆ จากเว็ปไซต์ต่าง ๆ  และอื่น ๆ ตามความเหมาะสมของเหตุการณ์และความเป็นปัจจุบัน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4