ปฏิบัติงานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน

Gasoline Engine Practice

1. เข้าใจการถอดประกอบชิ้นส่วนเครื่องยนต์หัวฉีดแก๊สโซลีน
2. เข้าใจการตรวจวัดชิ้นส่วนด้วยเครื่องมือวัดละเอียด
3. เข้าใจการใช้เครื่องมือกลปรับปรุงชิ้นส่วน
4. เข้าใจการตรวจสอบระบบควบคุมมลพิษไอเสีย
5. มีทักษะแก้ข้อขัดข้องของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน
6. ตระหนักถึงความสำคัญการซ่อมบำรุงเครื่องยนต์และมีกิจพิสัยในการทำงานได้อย่างปลอดภัย
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการถอดประกอบชิ้นส่วนเครื่องยนต์หัวฉีดแก๊สโซลีน ตรวจวัดชิ้นส่วนด้วยเครื่องมือวัดละเอียด ใช้เครื่องมือกลปรับปรุงชิ้นส่วน ตรวจสอบระบบควบคุมมลพิษไอเสียและวิเคราะห์ข้อขัดข้องของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการถอดประกอบชิ้นส่วนเครื่องยนต์หัวฉีดแก๊สโซลีน ตรวจวัดชิ้นส่วนด้วยเครื่องมือวัดละเอียด ใช้เครื่องมือกลปรับปรุงชิ้นส่วน ตรวจสอบระบบควบคุมมลพิษไอเสีย และวิเคราะห์ข้อขัดข้องของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
๑.๒.๑ สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม  ๑.๒.๒ สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม  ๑.๒.๓ เน้นความรับผิดชอบทั้งต่อตนเอง และสังคม ทั้งในบทบาทของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม  ๑.๒.๔ ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด  ๑.๒.๕ เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้อง ตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลา ที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม ความมีวินัยและความใส่ใจของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
1. บรรยาย  2. จัดการเรียนการสอนแบบ Project Based Learning
3. ผู้สอนอธิบายหลักการทางทฤษฎีและสาธิตการปฏิบัติงาน      3.1 นักศึกษาฝึกงานปฏิบัติงานในสถานศึกษา      3.2 เขียนรายงานการปฏิบัติงาน      3.3 สรุปผลการปฏิบัติการสอน
การทดสอบย่อย การสอบกลางภาคการศึกษาและปลายภาคการศึกษา รายงานที่นักศึกษาจัดทำงานที่ได้มอบหมาย
มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญาใช้แนวข้อสอบที่ให้นักศึกษาได้อธิบายแนวคิดและวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ที่เรียนมา หรือให้นักศึกษาเลือกใช้วิชาชีพที่เหมาะสมกับสถานการณ์ที่กำหนดให้
การบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน (Work-Integrated Learning) มุ่งเน้นให้นักศึกษารู้จักวิเคราะห์องค์ประกอบของสถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้บทบาทสมมติสถานการณ์จำลอง และกรณีศึกษาเพื่อเป็นตัวอย่างให้นักศึกษาได้ฝึกวิเคราะห์แนวทางแก้ไขให้ถูกต้อง
1. บรรยาย 
2. การมอบหมายงาน เพื่อให้นศ.เกิดการคิด วิเคราะห์ 
3. การมอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าและรายงานทางเอกสาร
บทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง การเลือกใช้วิธีการเพื่อแก้ใขปัญหาในบริบทต่าง ๆ
มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี (4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล  จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง โดยใช้ความรู้จากที่เรียนมา การวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย ดังข้อต่อไปนี้  - กำหนดรูปแบบการนำเสนองานกิจกรรม Active Learming หน้าชั้นเรียน เพื่อให้นักศึกษาสะท้อนความรู้ที่ค้นคว้าและทักษะในการถ่ายทอดความรู้  - กำหนดให้นักศึกษาทำรายงานการประเมินตนเอง
พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
ดำเนินการสอนด้วยกิจกรรม Active Learming ที่นักศึกษาต้องติดต่อสื่อสาร ค้นคว้าหาข้อมูล และนำเสนอผลจากการค้นคว้าโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้๕.๒.๑ มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งข้อมูลต่างๆ  ๕.๒.๒ นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาข้อมูล
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร
1. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ Project Based Learning
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาข้อมูล
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 2 3 1 1 1
1 TEDME906 ปฏิบัติงานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 - ไม่เพิ่ม - ไม่เพิ่ม - ไม่เพิ่ม - ไม่เพิ่ม
1. ประสานพงษ์ หาเรือนชีพ. ปฏิบัติงานเครื่องยนต์แก็สโซลีน. กรุงเทพฯ : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน), 2542.
2. โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย, บริษัทจำกัด. คู่มือการซ่อมเครื่องยนต์ 4A-FE. ม.ป.ป.
3. โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย, บริษัทจำกัด. หลักการเบื้องต้นของอิเล็กทรอนิกส์ เล่ม 9 ระดับ3. ม.ป.ป.

ประสานพงษ์ หาเรือนชีพ. ทฤษฏีและปฏิบัติอิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์. กรุงเทพฯ : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน), 2542. ประสานพงษ์ หาเรือนชีพ และบุญธรรม ภัทราจารุกุล. ทฤษฏีและปฏิบัติไฟฟ้ารถยนต์. กรุงเทพฯ : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน), 2537.
1. คู่มือการใช้เครื่องวิเคราะห์แก๊สไอเสีย
2. คู่มือการใช้เครื่องไทม์มิ่งไลท์
3. คู่มือการใช้เครื่องออสซิลโลสโคป
4. คู่มือการใช้เครื่องดิจิตอลมัลติมิเตอร์
5. คู่มือการใช้เครื่องวิเคราะห์ข้อขัดข้องด้วยเครื่องOBD
6. คู่มือรหัสวิเคราะห์ข้อขัดข้องด้วยเครื่องOBD
7. AUTO DATA เครื่องยนต์
8. สรุปผลการดำเนินงานโครงการราชมงคลล้านนา ตาก ร่วมใจสร้างความปลอดภัยบนท้องถนน ในปี
การศึกษา 2554- 2555
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
ให้นศ.แสดงความคิดเห็น ในการพัฒนาแผนการเรียนรู้โดยหลังจากการสอน
การบูรณาการงานจริง
นำสิ่งที่นศ.สะท้อนหลังเรียนในคาบนำมาวางแผนการจัดการเรียนการสอน
ไม่มี
วางการจัดการเรียนให้เหมาะสมกับผู้เรียนในเทอมต่อไป