ฟิสิกส์ 2 สำหรับวิศวกร

Physics 2 for Engineers

1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจหลักพื้นฐานทางฟิสิกส์ตามหัวข้อต่างๆ ในคำอธิบายรายวิชา
1.2 แก้ปัญหาทางฟิสิกส์ และประยุกต์วิชาฟิสิกส์ 2 สำหรับวิศวกรกับวิชาชีพและเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้
1.3 มีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์โดยใช้ความรู้ทางฟิสิกส์
- เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 
- เพื่อให้นักศึกษาได้นำความรู้ ความเข้าใจ ในรายวิชานี้ ไปเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเนื้อหา ตัวอย่างอ้างอิงเพิ่มเติม ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
     ศึกษาเกี่ยวกับไฟฟ้าสถิต  แม่เหล็ก-ไฟฟ้า  ไฟฟ้ากระแสตรง  ไฟฟ้ากระแสสลับ  อิเล็กทรอนิกส์พื้นฐาน  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า  ทัศนศาสตร์  ฟิสิกส์ยุคใหม่   ทฤษฎีควอนตัมเบื้องต้น  ฟิสิกส์ของแข็งเบื้องต้น  ฟิสิกส์อะตอมและนิวเคลียส
     Study of Electrostatics, Electromagnetism, Current Electricity, Alternating Current Electricity, Electronics Basic, Electromagnetic Waves, Optics, Modern Physics, Introduction to Quantum Theory, Introduction to Solid State Physics, Atomic Physics and Nucleus.
1 ชั่วโมง/สัปดาห์ เพื่อให้นักศึกษาขอคำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการ ดังนี้
3.1  วันพุธ เวลา 15.00 - 16.00 น. ห้อง 835 โทร 093-0387097
3.2  e-mail; phatchayam@gmail.com เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
วิธีการเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving) พร้อมกับการสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)โดยใช้การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction) เข้ามาช่วย
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. การเขียนบันทึก
3. การสังเกต
4. ข้อสอบอัตนัย
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 
2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
มีการสอนแบบบรรยายพร้อมการตั้งคำถาม (Questioning) เพื่อให้นักศึกษาเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving) ด้วยตนเอง โดยการนำการสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction) มาช่วยให้ง่ายขึ้น 
1. การเขียนบันทึก
2. ข้อสอบอัตนัย
1. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
ใช้การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติพร้อมการตั้งคำถาม (Questioning) เพื่อให้นักศึกษาเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving) ด้วยตนเอง 
1. สถานการณ์จำลอง
2. โครงการกลุ่ม
3. การสัมภาษณ์
4. ข้อสอบอัตนัย
1.  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2.  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
สอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming) เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
1. การสังเกต
2. การสัมภาษณ์
3. โครงการกลุ่ม
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม
3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้  Power point  มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
1. โครงการกลุ่ม
2. การนำเสนองาน
3. การสังเกต
4. การสัมภาษณ์
1. สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
2. สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
3. สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
-ไม่มี
-ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 FUNSC103 ฟิสิกส์ 2 สำหรับวิศวกร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะทางความสัมพันธ์และความรับผิดชอบ ทักษะเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (1.1) ,(1.3), (1.4), (2.1) ,(3.1) , (4.1),(4.2) ,(4.3),(4.4),(5.2) - การทำแบบฝึกหัดและงานที่ได้รับมอบหมาย - การกำหนดเวลาการส่งงานแล้วนักศึกษาส่งตรงตามเวลาที่กำหนด - การเข้าห้องเรียน และพฤติกรรมในห้องเรียน - การใช้ทรัพยากรอย่างคุมค่า เช่น ทำแบบฝึกหัดลงในสมุดที่เหลือ หรือการใช้กระดาษครบทั้ง 2 หน้า เป็นต้น - เนื้อหาของรายงานที่ได้รับมอบหมาย - ความถูกต้องของแบบฝึกหัด - ความซื่อสัตย์ในการสอบย่อย ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ทักษะทางปัญญา ทักษะเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (2.1) ,(3.1) ,(5.2) ทดสอบให้โจทย์ปัญหาหลังเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 ด้านคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา (1.1) ,(1.3) ,(1.4) ,(2.1),(3.1) การสอบกลางภาคและการสอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 8 และสัปดาห์ที่ 17 80%
1.1 ฟิสิกส์สำหรับวิศวกร
1.2 Schaum’s outline series, Physics
1.3 ฟิสิกส์ระดับอุดมศึกษา เล่ม 2
2.1 คณาจารย์ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550 ฟิสิกส์ 2 สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2.2 รศ.ก่องกัญจน์ ภัทรากาญจน์  , ฟิสิกส์มหาวิทยาลัย
2.3 R.A. Serway, J.W. Jewett , Physics for Scientists and Engineers 6th ed.,
ฟิสิกส์ราชมงคล : http://www.electron.rmutphysics.com/physics/charud/scibook/electronic-physics1/content.html
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 แบบประเมินผู้สอน
1.2 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน โดยมีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2  ติดตามงานที่มอบหมาย
2.3   การขอรับคำปรึกษาและสังเกตการณ์ของผู้สอน
3.1   ปรับปรุงการเรียนการสอน จากผลการประเมินของนักศึกษา
3.2  การจัดทำและพัฒนาเอกสารประกอบการสอน
3.3  รวบรวมปัญหาการเรียนของนักศึกษาและแนวทางแก้ไข โดยทำการสำรวจเบื้องต้นจากผลการประเมินการเรียนรู้ เพื่อนำไปสู่การทำวิจัยในชั้นเรียนที่มีประสิทธิภาพ
4.1   มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักศึกษา เพื่อนำไปพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง
4.2   ให้นักศึกษามีโอกาสตรวจสอบคะแนนก่อนส่งเกรด
4.3   การพิจารณาผลการเรียนของนักศึกษาในรายวิชาเดียวกันของแต่ละกลุ่มกับผลการประเมินพฤติกรรม
5.1   นำผลที่ได้จากการประเมินของนักศึกษา คะแนนสอบ นำมาสรุปผลและพัฒนารายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป 
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองพัฒนาความคิดที่หลากหลาย