แคลคูลัสและเรขาคณิตวิเคราะห์ 1

Calculus and Analytic Geometry 1

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้

เข้าใจเมตริกซ์และดีเทอร์มิแนนท์  จำนวนเชิงซ้อน  เรขาคณิตวิเคราะห์และเส้นตรง เข้าใจฟังก์ชัน  ลิมิตและความต่อเนื่อง เข้าใจการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน  และบทประยุกต์ของอนุพันธ์ เป็นพื้นฐานในการศึกษาวิชาชีพและศึกษาต่อระดับสูง

ปลูกฝังให้เป็นคนมีระเบียบมีเหตุผลแระรอบคอบ
มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเมตริกซ์  ฟังก์ชัน  การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน  และบทประยุกต์ของอนุพันธ์
ศึกษาเกี่ยวกับเมตริกซ์และดีเทอร์มิแนนท์  จำนวนเชิงซ้อน  เรขาคณิตวิเคราะห์ ฟังก์ชัน  ลิมิตและความต่อเนื่อง  การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันและการประยุกต์
Study of techniques of matrices and determinants, complex number, analytic geometry, functional limit and continuity, differential calculus of algebraic functions.
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 3 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
    3.1 วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้อง ศท. 304 โทร 2810
      3.2  tanitta_ying@hotmail.com เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
สอน อธิบาย ยกตัวอย่างมอบหมายงานให้นักศึกษา
สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและด้านความรับผิดชอบของนักศึกษา
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
สอน อธิบาย ยกตัวอย่าง ตามวิชาการ
เปิดโอกาสให้มีการถาม ตอบในชั้นเรียน
สอบย่อย
สอบข้อเขียน ทั้งกลางภาค และ ปลายภาค
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียน  และระดมความคิดเพื่อตอบปัญหามอบหมายให้นักศึกษาทำ และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
สอบย่อย
วิเคราะห์แนวคิดทางวิชาการประเมินการทำงานและนำเสนองานหน้าชั้นเรียน
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
แนะนำในห้องเรียนมอบหมายงานให้นักศึกษาทำเป็นกลุ่ม  แบ่งหน้าที่การทำงานตามความเหมาะสมและนำเสนองานหน้าชั้นเรียน
สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาให้นักศึกษาประเมินสมาชิกในกลุ่ม ทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและด้านความรับผิดชอบ
ประเมินการทำงานและเสนองานหน้าชั้นเรียน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ และสอนให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมผ่านอินเตอร์เน็ต เช่นเทคนิคการเรียนต่างๆ ผ่าน YouTube เป็นต้น
ประเมินการทำงานและนำเสนองานหน้าชั้นเรียน
6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
ไม่มี
ไม่มี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
2 4.1 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์
3 2.1, 3.1, 3.2 การทดสอบย่อย 2 ครั้ง 4 และ 13 30 %
4 2.1, 3.1, 3.2 การสอบกลางภาค 9 25 %
5 4.1, 5.2 การนำเสนองาน/การรายงาน 14 10%
6 2.1, 3.1, 3.2 การสอบปลายภาค 18 25 %
เอกสารประกอบการเรียนวิชา แคลคูลัสและเรขาคณิตวิเคราะห์ 1 ( Calculus and Analytic Geometry ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา  ภาคพายัพ  เชียงใหม่  คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร  แผนกวิทยาศาสตร์  สาขาคณิตศาสตร์
1. รศ.กมลเอก ไทยเจริญ ,คณิตศาสตร์ ม. 6 เล่ม 5 ; บริษัทไฮเอ็ดพับลิซซิ่ง จำกัด, 2535
2. รศ.สมัย เหล่าวานิชย์, MODERN ACADEMIC MATHS, คณิตศาสตร์ม. 5 เล่ม 3; บริษัทไฮเอ็ดพับลิซซิ้ง
3. สันต์ชัย เบี้ยมุขดา ,คณิตศาสตร์บริหารธุรกิจ ; สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.
1. ลออ เพิ่มสมบัติ , ESSENCE OF MODERN MATHS ; เทพรัตน์การพิมพ์.
2. ผดุงเกียรติ ประยูรศักดิ์และคณะ ,คณิตศาสตร์ม. 6 , สำนักพิมพ์ประสานมิตร
1.1  การสังเกตความสนใจของผู้เรียนขณะทำการสอน
1.2  แบบประเมินผู้สอนผ่านเว็บมหาวิทยาลัย
1.3 ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้ให้นักศึกษาเสนอแนะ
2.1 การสังเกตการณ์ในการสอน
2.2 ผลการสอบตามจุดประสงค์ของแต่ละหัวข้อ
2.3 การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้
3.1แก้ไขข้อบกพร่องจากแบบประเมินที่นักศึกษาประเมินผู้สอน
3.2 การทำวิจัยในชั้นเรียน
4.1 การทวนสอบจากการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นที่ไม่ใช่ผู้สอน
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาเช่นตรวจสอบข้อสอบ
5.1 ปรับปรุงการเรียนการสอนตามผลการทวนสอบในข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้กับปัญหาจากงานวิจัยของอาจารย์
5.3 นำผลการเรียนของนักศึกษามาปรับปรุงประสิทธิภาพของรายวิชา