ฝึกงานวิชาชีพทางออกแบบอุตสาหกรรม

Job Internship in Industrial Design

1. เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสใช้ทฤษฎีเกี่ยวและกลวิธีการทำงานต่างๆ
2. เพื่อให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงจากการทำงานจริง
3. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้งานอาชีพสามารถแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ได้เป็นอย่างดี
4. เพื่อให้นักศึกษาฝึกการอยู่ในระเบียบวินัย และข้อบังคับของหน่วยงานที่ตนไปฝึกงาน
5. เพื่อฝึกการทำงานร่วมกับบุคคลอื่นในหน่วยงานได้เป็นอย่างดีและมีประสิทธิภาพ
เพื่อนำข้อมูลที่ได้จากการประเมินผลในปีการศึกษา ๒๕๖๐ มาปรับปรุงกระบวนการจัดการฝึกประสบการณ์ภาคสนามของนักศึกษาให้มีความเหมาะสมกับความต้องการของสถานประกอบการ  และเพื่อให้การจัดการการฝึกประสบการณ์ของนักศึกษามีความสะดวกและเข้าใจตรงกันทุกฝ่าย
ฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการของรัฐบาลหรือเอกชน ที่เกี่ยวข้องกับงานด้านออกแบบอุตสาหกรรม เป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๓๒๐ ชั่วโมง ในระหว่างภาคฤดูร้อน
-
ฝึกปฏิบัติงานทางด้านออกแบบอุตสาหกรรม ในสถานประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชน
ฝึกปฏิบัติงานทางด้านออกแบบอุตสาหกรรม ในสถานประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชน
ฝึกปฏิบัติงานทางด้านออกแบบอุตสาหกรรม ในสถานประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชน
ฝึกปฏิบัติงานทางด้านออกแบบอุตสาหกรรม ในสถานประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชน
ฝึกปฏิบัติงานทางด้านออกแบบอุตสาหกรรม ในสถานประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชน
ฝึกปฏิบัติงานทางด้านออกแบบอุตสาหกรรม ในสถานประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชน
ประเมินผลจากรายงานการฝึกประสบการณ์ ประเมินผลจากสมุดบันทึกการฝึกงาน แบบประเมินผลจากการประเมินของสถานประกอบการ ประเมินจากการติดตามผลของอาจารย์นิเทศติดตามผลการฝึกประสบการณ์ ประเมินจากการนำเสนอประสบการณ์เป็นกลุ่มหลังจากฝึกประสบการณ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1-6 1. นักศึกษาต้องเข้าร่วมในทุกขั้นตอนของการฝึกงานภาคสนาม 2. นักศึกษาต้องได้คะแนนจากการประเมินจากสถานประกอบการและอาจารย์ผู้นิเทศการฝึกงานไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ตลอดการฝึกปฏิบัติงาน 80%
2 1-6 ประเมินสมุดบันทึกการฝึกงานด้วยแบบประเมินสมุดบันทึกการฝึกงานและเอกสารรายงานการฝึกงาน 8 20%
คู่มือฝึกงาน หลักสูตรออกแบบอุตสาหกรรม สาขาการออกแบบ คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ความรู้ความเข้าใจ สิ่งที่นักศึกษาได้รับจากการฝึกงาน
ประเมินรายวิชาตามผลปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ และจากกรรมการนิเทศฝึกงาน และรายงานการฝึกงานของนักศึกษา 
ปรับปรุงแก้ไขตามสถานการณ์ปัจจุบัน
ประเมินจากแบบประเมินความพึงพอใจในการฝึกงานจากสถานประกอบการ
เมื่อเสร็จสิ้นการฝึกงานแล้ว นำผลการประเมินทุกส่วน ทั้งของนักศึกษา สถานประกอบการ และ ของอาจารย์นิเทศรวมทั้งปัญหาและอุปสรรค และข้อเสนอแนะของสถานประกอบการเข้าที่ประชุมสาขาวิชา เพื่อช่วยกันหาแนวทางในการปรับปรุงรายวิชาในปีต่อไป  แก้ไข