ภาษาจีนสำหรับงานบริการ

Chinese for Hospitality

1. เพิ้อให้นักศึกษาฝึกทักษะการฟัง สำนวนภาษาจีนที่ใช้ในการบริการและนำไปประยุกต์ใช้กับสถานการณ์การบริการจำลอง
2. เพิ้อให้นักศึกษาฝึกทักษะการพูด สำนวนภาษาจีนที่ใช้ในการบริการและนำไปประยุกต์ใช้กับสถานการณ์การบริการจำลอง
3.เพิ้อให้นักศึกษาฝึกทักษะการอ่าน สำนวนภาษาจีนที่ใช้ในการบริการและนำไปประยุกต์ใช้กับสถานการณ์การบริการจำลอง
4.เพื่อสอดแทรกข้อมูลด้านวัฒนธรรมจีน พื้นฐานให้กับนักศึกษา
5. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำทักษะภาษาจีนไปใช้ในการสือสารในการทำงานด้านการบริการได้
เพิ้อพัฒนาทักษะที่ได้จากการเรียนนำไปสู่การปฏิบัติในสถานที่จริงในสถานประกอบการ ขณะเตรียมสหกิจศึกษา
ฝึกทักษการฟัง พูด อ่าน เขียน สำนวนภาษาที่ใช้ในการบริการโรงแรมโดยจำลอง การฝึกปฏิบัติในโรงแรม เช่น งานส่วนหน้า ภัตตาคาร บาร์ ร้านนขายของที่ระลึก เป็นต้น เพื่อพัฒนาทักษการสือสารในวัฒนธรรมที่หลากหลา โดยใช้ภาษาจีนเป็นเครื่องมือในการนำเสนอและสือสารในวัฒนธรรมที่หลากหลาย โดยใช้ภาษาจีนเป็นเครื่องมือในการนำเสนอและสื่อสาร
.1 อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษา ผ่านทางป้ายประกาศ ผ่านระบบ อินเตอร์เน็ต และโทรศัพท์ 3.2 อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ( เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
สอนคุณธรรม จริยธรรม สอดแทรกในบทเรียนวิชาเฉพาะการแสดงออกอันเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้สอนชานั้นๆ  
1. สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน
2. ทำงานเป็นกลุ่ม และรายงานผลงาน
มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง  
1. การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม-ตอบ
2. อภิปรายเป็นกลุ่ม โดยให้ผู้สอนตั้งคำถามตามระบบการสอนยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
1. ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติ โดยการสอบย่อย และให้คะแนน
2. ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
3.  ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน
 
1) มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตน ในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหาได้
2) มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่องและตรงตามมาตรฐานสากล
1) บรรจุเนื้อหาความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในรายวิชาชีพ
2) มอบหมายงานเป็นกลุ่มย่อย และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยหมุนเวียนกันในกลุ่ม
3) สอนโดยใช้กรณีศึกษา
1) ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน
2) สังเกตพฤติกรรมในการเรียน
1. มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.บูรณาการการใช้โปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ เครือข่าย และซอฟต์แวร์ หรือสื่อต่าง ๆ
1.ประเมินผลโดยการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยฌธรรม 2.ด้่านความรู้ 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะด้าน การปฏิบัติงานในวิชาชีพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 4 2 1 2 1 1
1 BOATH151 ภาษาจีนสำหรับงานบริการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2,1.4 สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน 9 10
2 2.2 1. การบูรณาการทักษะรายวิชาอื่นมาประยุกต์ใช้กับการสื่อสารภาษาจีน 2. สอบกลางภาค 2-15 20
3 4.1,4.2 วัดผลจากงานที่ได้รับมอบหมาย ทุกสัปดาห์ 70
1. Hanyu jiaocheng .Beijing Langguage and culture University
2. Kouyu jiaocheng .Beijing Langguage and culture University
3. ภาษาจีนสำหรับท่องเที่ยว,ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
4. Devoloping Chinese 2nd Edition.Beijing Langguage and culture University
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
ในวันแรกของการเรียนการสอน อาจารย์ผู้สอนอธิบายให้นักศึกษาเข้าใจถึงการปรับปรุงรายวิชานี้จากการเรียนการสอนในภาคการศึกษาที่ผ่านมา และประโยชน์จากข้อคิดเห็นของนักศึกษาต่อการพัฒนารายวิชา เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นต่อการพัฒนารายวิชาในช่วงปลายของภาคการศึกษา ให้นักศึกษาประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบ ความรู้ ทักษะในการประมวล/คิดวิเคราะห์ก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้ ส่งเสริมให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นต่อการเรียนการสอน และการพัฒนารายวิชาผ่านระบบการประเมิน on line ของมหาวิทยาลัย
อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเอง ดูผลการเรียนของนักศึกษา และทำรายงานสรุปพัฒนาการของนักศึกษา ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไขหรือการเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงรายวิชา มีการประเมินการสอนโดยคณะกรรมการทวนสอบผลการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยการสุ่มสัมภาษณ์ผู้เรียน
ารประมวลความคิดเห็นของนักศึกษา การประเมินการสอนของตนเองและสรุปปัญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไขเมื่อสิ้นสุดการสอน เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการปรับปรุงรายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป การวิจัยในชั้นเรียน เพื่อพัฒนารูปแบบ วิธีการเรียนการสอน และวิธีการฝึกปฏิบัตินอกสถานที่ ปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาให้ทันสมัยและเหมาะสมกับนักศึกษารุ่นต่อไป
คณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตรแต่งตั้งคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา 4.2 ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามกรอบเวลาที่ทางหลักสูตรกำหนด 4.3 คณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาโดยการสุ่มสัมภาษณ์นักศึกษากลุ่มเป้าหมาย 4.4 ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาโดยใช้แบบประเมินตนเองของนักศึกษาต่อระดับผลการเรียนรู้
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ 5.3   ลงพื้นที่ทำการศึกษาวิจัยในหัวข้อที่เกี่ยวของกับรายวิชาเพื่อบูรณาการการเรียนการสอนกับงานวิจัย 5.4   ปรับปรุงเนื้อหารายวิชที่ได้จากการวิจัย