คอมพิวเตอร์ช่วยในงานออกแบบภาพ 2 มิติ

Computer Aided Design 2D

ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับหลักการทั่วไปในการออกแบบและเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ คำสั่งพื้นฐานในการเขียนแบบ การเขียนภาพ 2 มิติ การเขียนภาพไอโซเมตริกและภาพฉาย การบอกขนาด การเขียนตัวอักษร การเขียนแบบแม่พิมพ์หรือชิ้นส่วนเครื่องจักรกลและแบบสั่งงาน การจัดเก็บข้อมูลและแสดงผลทางเครื่องพิมพ์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย 
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับหลักการทั่วไปในการออกแบบและเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ คำสั่งพื้นฐานในการเขียนแบบ การเขียนภาพ 2 มิติ การเขียนภาพไอโซเมตริกและภาพฉาย การบอกขนาด การเขียนตัวอักษร การเขียนแบบแม่พิมพ์หรือชิ้นส่วนเครื่องจักรกลและแบบสั่งงาน การจัดเก็บข้อมูลและแสดงผลทางเครื่องพิมพ์
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
ตรวจสอบรายชื่อก่อนเข้าและหลังเลิกเรียนทุกครั้ง
ส่งรายงานและการออกแบบ ปฎิบัติงานกลุ่ม ตามเวลาที่กำหนด
ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียนการส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องพิมพ์เพื่อแสดงผล
สืบค้นรายงานและค้นคว้าเพิ่มเติม ทำการออกแบบชิ้นงานและปฎิบัติงานกลุ่ม
การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
ประเมินจากแบบงานที่ได้ออกแบบและนำเสนอ
 
สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ    
ทำการออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกล แบบสั่งงาน แม่พิมพ์และปฏิบัติงานโดยเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องพิมพ์ให้เหมาะสม
สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
หรือการศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสาร
สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
หรือการศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสาร
มอบหมายให้ปฏิบัติงานและออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกล เขียนแบบสั่งงาน และแม่พิมพ์จริง
ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ พร้อมบันทึกพฤติกรรมเป็นรายบุคคล
ประเมินจากผลงานและการนำเสนอ
5.1.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ
5.1.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
5.1.5 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้    
ให้ออกแบบเขียนแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกล เขียนแบบสั่งงาน และแม่พิมพ์จริง
ประเมินจากเทคนิคการเขียนแบบ โดยใช้ทฤษฎีการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องทางวิศวกรรมศาสตร์
ประเมินจากความสามารถในการออกแบบเขียนแบบ และการนำเสนอต่อชั้นเรียน
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่มตามสาขาที่ตนเองศึกษา มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี  
ฝึกใช้คอมพิวเตอร์ การจัดเก็บข้อมูลและอุปกรณ์แสดงผลทางเครื่องพิมพ์
มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 2
1 ENGTD104 คอมพิวเตอร์ช่วยในงานออกแบบภาพ 2 มิติ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.2-1.1.3, 2.1.2, 2.1.5 3.1.3, 3.1.5 สอบกลางภาค, สอบปลายภาค 8, 16 15%, 15%
2 1.1.2-1.1.3, 2.1.3-2.1.5, 3.1.3, 3.1.5, 4.1.4-4.1.5, 5.1.3-5.1.5, 6.1.1-6.1.2 ศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ ออกแบบและเขียนแบบเครื่องมือกล แบบสั่งงาน แบบแม่พิมพ์ และการส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 1.1.2-1.1.3, 3.1.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
ภาณุพงษ์ ปัตติสิงห์. คู่มือการใช้โปรแกรม AutoCAD 2017 : 2D Drafting. กรุงเทพมหานคร. สำนักพิมพ์ บริษัทซิซินี่ อินเตอร์เนชั่นแนลจำกัด, 2560.
ภาณุพงษ์ ปัตติสิงห์. คู่มือการใช้โปรแกรม AutoCAD 2014 & 2015 : 2D Drafting Workshop. กรุงเทพมหานคร. สำนักพิมพ์เดอะ ไลบรารี พับบลิชิง, 2557.
ชัชวาล ศุภเกษม. เขียนแบบงานวิศวกรรมและสถาปัตย์ ด้วย Auto CAD  2013. กรุงเทพมหานคร. สำนักพิมพ์ บริษัทโปรวิชั่น จำกัด. 2555.
ธนัชสร จิตต์เนื่อง. คู่มือการใช้งาน Auto CAD 2013. กรุงเทพมหานคร. สำนักพิมพ์ บริษัทสวัสดีไอที จำกัด. 2556.  
-
www.google.com
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1  ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบและหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาฯ  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ แบบงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ