การฝึกทักษะพื้นฐานทางวิศวกรรม 2

Basic Engineering Skill Training 2

1.1 รู้วิธีการเชื่อมไฟฟ้า การเชื่อมแก๊ส งานขึ้นรูปโลหะ การตีเหล็ก การชุบแข็ง 1.2 รู้วิธีการใช้เครื่องมือวัดทางไฟฟ้าพื้นฐาน การต่อสายไฟ การฝึกบัดกรี 1.3 รู้วิธีการการฝึกต่อวงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่าย
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และการเตรียมความพร้อมในการนาความรู้ ความเข้าใจทางด้านการฝึกทักษะพื้นฐานทางวิศวกรรม ในการวิเคราะห์ข้อมูล วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล และการนาผลการวิเคราะห์ไประยุกต์ใช้ในทางวิศวกรรมศาสตร์
ปฏิบัติงานเกี่ยวกับทักษะการเชื่อมไฟฟ้า การเชื่อมแก๊ส งานขึ้นรูปโลหะ การตีเหล็ก การชุบแข็ง การใช้เครื่องมือวัดทางไฟฟ้าพื้นฐาน การต่อสายไฟ การฝึกบัดกรี การฝึกต่อวงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่าย
อาจารย์จัดเวลาให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
-พัฒนาผู้เรียนให้มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม - เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม - มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม สามารถทางานเป็นทีมและจัดลาดับความสาคัญของงานที่ทา - เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ - มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
- จัดกิจกรรมกลุ่มให้ทางานร่วมกัน - กาหนดให้นักศึกษาทางานตามที่มอบหมาย -บรรยายและยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับจริยธรรม การมีวินัย ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อ ตนเองและสังคมเคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม -ให้ศึกษาค้นคว้าและทารายงานในหัวข้อที่กาหนดให้
-พฤติกรรมการเข้าเรียน การร่วมกิจกรรมและส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา -มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นามาทารายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม -ประเมินผลการออกแบบงานที่มอบหมาย
- การเชื่อมไฟฟ้า การเชื่อมแก๊ส งานขึ้นรูปโลหะ การตีเหล็ก การชุบแข็ง - การใช้เครื่องมือวัดทางไฟฟ้าพื้นฐาน การต่อสายไฟ การฝึกบัดกรี - การการฝึกต่อวงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่าย
- กาหนดให้นักศึกษาทางานตามที่มอบหมาย
- สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบภาคปฏิบัติ - ตรวจงานที่สั่งรายบุคคล - สอบปฏิบัติรายบุคคล
- พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้เครื่องมือกล
- มอบหมายงานให้นักศึกษารายบุคคลทาและให้ส่งงาน
- สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบภาคปฏิบัติ - ตรวจงานที่สั่งรายบุคคล - สอบปฏิบัติรายบุคคล
- พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา - ทักษะในการใช้เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
- มอบหมายให้ฝึกปฏิบัติและศึกษาค้นคว้าจากแหล่งความรู้ที่กาหนดให้ - นาเสนอโดยใช้สื่อความหมายได้ชัดเจน ถูกต้อง อ่านได้ง่าย
- ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
- พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา - ทักษะในการใช้เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
- มอบหมายให้ฝึกปฏิบัติและศึกษาค้นคว้าจากแหล่งความรู้ที่กาหนดให้ - นาเสนอโดยใช้สื่อความหมายได้ชัดเจน ถูกต้อง อ่านได้ง่าย
- ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
-
-
-
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. วิธีการ ดาเนินการรวบรวมข้อมูลเพื่อการประเมินผล แยกเป็น 3 ส่วน โดยแบ่งแยกคะแนน แต่ละส่วนจากคะแนนเต็ม ทั้งรายวิชา 100 คะแนน 1.1 ผลงานที่มอบหมาย 80 คะแนน หรือร้อยละ 80 คะแนน 1.2 พิจารณาจิตพิสัย (กิจนิสัย ความตั้งใจ และการเข้าร่วมกิจกรรม) 10 คะแนน หรือร้อยละ 10 คะแนน 1.3 สอบปลายภาค 10 คะแนน หรือร้อยละ 10
- รศ.อาพล ซื่อตรง, รศ.วันชัย จันทรวงศ์, ดีเตอร์ ซิปเปอร์. งานฝึกฝีมือ. ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ. 2545
-
- เว็บไซต์ google พิมพ์ค้นหา youtube + การเชื่อมไฟฟ้า , การต่อวงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ - เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คาอธิบายศัพท์ - เอกสาร e-learning
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ