การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

System Analysis and Design

1.1 เข้าใจระบบสารสนเทศ
1.2 เข้าใจวงจรการพัฒนาระบบ
1.3 เข้าใจการวิเคราะห์ระบบ
1.4 รู้ยุทธวิธีการพัฒนาระบบ      
1.5 เข้าใจการศึกษาความเป็นไปได้
1.6 เข้าใจการบริหารโครงการ
1.7 เข้าใจแผนภาพความสัมพันธ์ของข้อมูล
1.8 เข้าใจพจนานุกรมข้อมูล
1.9 เข้าใจแผนภาพแสดงการไหลของข้อมูล
1.10 เข้าใจการเขียนคำอธิบายการประมวลผล
1.11 เข้าใจการออกแบบโปรแกรม
1.12 เข้าใจการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟส
1.13 เข้าใจการออกแบบส่วนรับข้อมูล      
1.14 รู้การออกแบบส่วนแสดงผลข้อมูล
1.15 รู้การจัดทำโปรโตไทป์
1.16 รู้การเขียนและทดสอบโปรแกรม
1.17 เข้าใจการกำหนดคุณสมบัติของระบบฮาร์ดแวร์และเครือข่าย
1.18 เข้าใจระบบคลาวด์ 
1.19 เข้าใจความปอดภัยทางไอที  
1.20 เข้าใจการทำเอกสารประกอบ
1.21 รู้การฝึกอบรม
1.22 รู้การติดตั้งระบบ
ศึกษาเกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศ วงจรการพัฒนาระบบ วิธีวิเคราะห์ระบบ เครื่องมือที่ช่วยในการวิเคราะห์ระบบ การศึกษาความเป็นไปได้ของระบบ ผังการบริหารโครงการ แผนภาพแสดงการทำงาน แผนภาพแสดงการไหลของข้อมูล การเขียนคำอธิบายการประมวลผล แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูล พจนานุกรมข้อมูล ผังแสดงโครงสร้างของระบบ การอกแบบส่วนรับข้อมูล การออกแบบส่วนแสดงผลข้อมูล การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ การกำหนดคุณสมบัติของระบบฮาร์ดแวร์และเครือข่าย การทำเอกสารประกอบ
-  อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านระบบออนไลน์ของสาขาวิชาและหน้าห้องพักครู
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายวิชาหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
พัฒนานักศึกษาให้มีคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อม ๆ กับวิทยาการต่าง ๆ ที่ศึกษา เพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่น และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม  สามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม รวมทั้งอาจารย์ต้องมีคุณสมบัติด้านคุณธรรม จริยธรรมอย่างน้อยดังนี้
         1.1.1  มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
         1.1.2  มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
         1.1.3  มีวินัย  ขยัน  อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม และ
                   สิ่งแวดล้อม
         1.1.4  เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
          1.2.1   สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
          1.2.2   สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม
          1.2.3   เน้นความรับผิดชอบทั้งต่อตนเอง และสังคม ทั้งในบทบาทของการเป็นผู้นำกลุ่ม
                    และการเป็นสมาชิกกลุ่ม
          1.2.4   ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา   การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
          1.2.5   เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้อง ตามระเบียบข้อบังคับของ
                    มหาวิทยาลัย
          1.2.6   ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม
          1.2.7   ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
          1.3.1   ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด
                    ระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
          1.3.2   ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
          1.3.3   ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
          1.3.4   ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความ
                    รับผิดชอบของนักศึกษา
          1.3.5   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำงานที่มอบหมาย อย่างถูกต้องและเหมาะสม
มีความรู้และเข้าใจในเรื่องเกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศ วงจรการพัฒนาระบบ วิธีวิเคราะห์ระบบ เครื่องมือที่ช่วยในการวิเคราะห์ระบบ การศึกษาความเป็นไปได้ของระบบ ผังการบริหารโครงการ แผนภาพแสดงการทำงาน แผนภาพแสดงการไหลของข้อมูล การเขียนคำอธิบายการประมวลผล แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูล พจนานุกรมข้อมูล ผังแสดงโครงสร้างของระบบ การอกแบบส่วนรับข้อมูล การออกแบบส่วนแสดงผลข้อมูล การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ การกำหนดคุณสมบัติของระบบฮาร์ดแวร์และเครือข่าย การทำเอกสารประกอบ
บรรยาย อภิปราย ถาม/ตอบ ยกตัวอย่าง การทำงานที่มอบหมาย การนำเสนอผลงาน มอบหมายให้ค้นหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดความเข้าใจ
         หลักการการกระบวนการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
2.3.2   ประเมินจากการทำงานที่มอบหมาย และการนำเสนอผลงาน
          พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิด วิเคราะห์ และบูรณาการองค์ความรู้ได้เป็นอย่างดี
        3.2.1 การมอบหมายงาน/การบ้านที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์
        3.2.2 การมอบหมายงานให้ศึกษา ค้นคว้า และทำกรณีศึกษา
3.2.3   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
         3.3.1 จากการสอบภาคทฤษฎี
         3.3.2 สังเกตและประเมินจากงานกลุ่มที่ให้ทำ
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาการให้ความร่วมมือในการทำงานทั้งความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงาน
         เป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วน
         ตามกำหนดเวลา
4.2.1   มอบหมายงานให้ออกแบบกรณีศึกษารายกลุ่ม โดยการ ให้ค้นคว้าเนื้อหา คิด
         วิเคราะห์ปัญหา วิจารณ์กันในกลุ่ม สรุปปัญหา แก้ปัญหา ออกแบบด้วยการเขียน
         ถ้อยแถลง โมเดลต่าง ๆ  ผังงาน และทำรายงาน
4.2.2   นำเสนอผลงาน
4.3.1   ผลจากการประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2   ผลจากการประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในด้านการพูด การ
         ฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ผลของตัวอย่างงานที่กำหนดให้
5.1.4   พัฒนาทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรู้ สืบค้นข้อมูลทาง
         อินเตอร์เน็ตอย่างเป็นระบบ
5.1.5   พัฒนาทักษะในการแสวงหาความรู้ ข้อมูลสารสนเทศในการพัฒนาตนเองผู้เรียน
         และการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม
5.1.6   พัฒนาทักษะในการนำเสนอรายงานโดยสามารถเลือกรูปแบบ เครื่องมือ และ
          เทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมทำงานกลุ่มและการนำเสนอผลงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.3, 3.1, 5.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 17 25% 25%
2 2.1, 3.1, 5.2, 5.3 การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 1.3, 4.1-4.4 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย ตลอดภาคการศึกษา 20%
กิตติ ภักดีวัฒนะกุล และคณะ. การวิเคราะห์และออกแบบระบบ. --- . กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2551. เมสินี นาคมณี. การวิเคราะห์และออกแบบระบบ. พิมพ์ครั้งที่ 1. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่, 2545. บุญสืบ โพธิ์ศรี และคณะ. ระบบฐานข้อมูล. ---. กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ, 2547. เอกพันธุ์ คำปัญโญ และ ธีรวัฒน์. การวิเคราะห์และออกแบบระบบ. ---. กรุงเทพฯ : บริษัทซัคเซสมีเดียจำกัด, 2550. อารยา โพธิ์พันธ์ และ ณัญจณา กชการนน. การวิเคราะห์และออกแบบระบบ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ส่งเสริมอาชีวะ, 2546.  โอภาส  เอี่ยมสิริวงศ์. การวิเคราะห์และออกแบบระบบ. – กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2549.
https://www.it24hrs.com/2015/cloud-computing-and-cloud-definition/ ,2016. https://learningsystem.6te.net/ ,2016. https://sasdkmitl09.blogspot.com/2009/07/blog-post_4420.html/, 2016.
ทองคำ  สมเพราะ, โครงการสอนวิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ, 2561
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์ความตั้งใจของนักศึกษา
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ