ระบบปฏิบัติการ

Operating Systems

1.รู้ความแตกต่างของคอมพิวเตอร์ได้อย่างถูกต้อง 2.รู้หลักการ และ หน้าที่ ของ องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ 3.เข้าใจพฤติกรรมของโปรเซส และเทรดได้ 4.เข้าใจการทางานของหน่วยความจา และการจัดเวลาซีพียูได้อย่างถูกต้อง 5.เข้าใจการจัดสรรทรัพยากรของระบบปฏิบัติการได้อย่างถูกต้อง 6.เข้าใจการจัดการไฟล์ (File Management) ได้อย่างถูกต้อง 7.เข้าใจระบบปฏิบัติการ Windows (Windows Operating System)ได้อย่างถูกต้อง 8.มีทักษะใช้งานระบบปฏิบัติการแบบใหม่ได้ เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐาน ของระบบปฏิบัติการและมีการฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับโปรแกรมระบบ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านการนาความรู้ ความเข้าใจ ในการออกแบบและการใช้งานระบบปฏิบัติการและโปรแกรมระบบเพื่อนาไปประยุกต์ใช้งานด้านต่างๆ ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีปัจจุบัน
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์ ชนิดของระบบปฏิบัติการของ คอมพิวเตอร์ การแบ่งปันทรัพยากร การจัดการหน่วยประมวลผล การจัดการโพรเซสและเทรด การจัดการหน่วยความจา การจัดการอุปกรณ์ การแบ่งความจาและชุดคาสั่งเป็นส่วนและเป็นหน้า หน่วยความจาเสมือน ขั้นตอนของการจัดตารางการประเมินผลการทางาน ปัญหาการติดตาย การป้องกันแหล่งทรัพยากร ความมั่นคงและความปลอดภัยของทรัพยากร การศึกษาตัวอย่างเป็นราย ๆ
อาจารย์จัดเวลาให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรมเพื่อให้สามารถดาเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่น และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม นอกจากนั้นคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงของประเทศ ความปลอดภัยในชีวิต ความสาเร็จทางธุรกิจ ผู้พัฒนาและ/หรือผู้ประยุกต์โปรแกรมจาเป็นมีความรับผิดชอบต่อผลที่เกิดขึ้นเช่นเดียวกับการประกอบอาชีพในสาขาอื่นๆ อาจารย์ที่สอนในแต่ละวิชาต้องพยายามสอดแทรกเรื่องที่เกี่ยวกับสิ่งต่อไปนี้ทั้ง 7 ข้อ เพื่อให้นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรม และจริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการต่าง ๆ ที่ศึกษา รวมทั้งอาจารย์ต้องมีคุณสมบัติด้านคุณธรรม และจริยธรรมอย่างน้อย 7 ข้อตามที่ระบุไว้ 1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม สามารถทางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลาดับความสาคัญ 1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 1.1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม 1.1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรม ความซื่อสัตย์ การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น การใช้ ซอฟต์แวร์ที่มีลิขสิทธิ์ 1.2.2 การศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากวารสาร สิ่งพิมพ์ และเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง 1.2.3 อภิปรายกลุ่ม 1.2.4 กาหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกาหนดบทบาทสมมุติ
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นามาทารายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม 1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา 1.3.4 ประเมินผลการนาเสนอรายงานที่มอบหมาย
มีความรู้ในหลักการนาเสนอโครงงาน การศึกษาค้นคว้า บทความ งานวิจัย สามารถนามาวิเคราะห์และจัดทาเป็นแบบเสนอโครงงาน
บรรยาย อภิปราย การทางานกลุ่ม การนาเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนามาสรุปและนาเสนอ ศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี 2.3.2 ประเมินจากการนาเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem –based Learning
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ จากหลักทฤษฏี
3.2.1 การมอบให้นักศึกษาทาโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนาเสนอผลงาน 3.2.2 อภิปรายกลุ่ม 3.2.3 วิเคราะห์กรณีศึกษา ในการนาทฤษฏีเลือกใช้ให้เหมาะสม 3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1 สอบย่อย สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีความเข้าใจ วิเคราะห์ และ การประยุกต์ใช้ทฤษฏี 3.3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การนาเสนอผลงาน 3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นาและผู้ตามในการทางานเป็นทีม 4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกาหนดเวลา
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา 4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นบทความ หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา 4.2.3 การนาเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กาหนด 4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นาเสนอ พฤติกรรมการทางานเป็นทีม 4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทารายงาน และนาเสนอในชั้นเรียน 5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา 5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต 5.1.5 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์ การสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ 5.1.6 ทักษะในการนาเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์และทารายงานโดยเน้นการนาตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ 5.2.2 นาเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนาเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 1 2
1 ENGCE105 ระบบปฏิบัติการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล