การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารกึ่งแห้ง

Semi-dried Food Product Development

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับชนิดของผลิตภัณฑ์อาหารกึ่งแห้ง การเปลี่ยนแปลงทางเคมีและทางกายภาพในผลิตภัณฑ์อาหารกึ่งแห้ง เทคนิคและวิธีการในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์อาหารกึ่งแห้ง โดยวิธี Desorption และ Adsorption การประเมินและทดสอบผลิตภัณฑ์ และการทดสอบผู้บริโภค มีการศึกษานอกสถานที่
ไม่มี
ศึกษาเกี่ยวกับชนิดของผลิตภัณฑ์อาหารกึ่งแห้ง การเปลี่ยนแปลงทางเคมีและทางกายภาพในผลิตภัณฑ์อาหารกึ่งแห้ง เทคนิคและวิธีการในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์อาหารกึ่งแห้ง โดยวิธี Desorption และ Adsorption การประเมินและทดสอบผลิตภัณฑ์ และการทดสอบผู้บริโภค มีการศึกษานอกสถานที่
-   อาจารย์ประจำรายวิชา ให้คำปรึกษาตามตารางผู้สอน
 -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1  ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 
1.1.2  มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.3  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้ง และลำดับความสำคัญ
1.1.4  เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1.2.1 มอบหมายให้ทำรายงานบทปฏิบัติการเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
1.2.2 อภิปรายเพื่อสะท้อนความคิดเห็นเป็นกลุ่ม
1.3.1 ประเมินผลงานรายบุคคลหรือกลุ่ม (เอกสาร รายงาน) การส่งรายงานบทปฏิบัติการตามที่ได้รับมอบหมายตามระยะเวลาที่กำหนด
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีในเนื้อหาที่ศึกษา
          2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีใหม่ของสาขาวิชาที่ศึกษา
          2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 บรรยายเกี่ยวกับชนิดและคุณภาพของวัสดุเหลือใช้ทางอุตสาหกรรมเกษตร การเก็บรักษาวัสดุเหลือใช้ทางอุตสาหกรรมเกษตร การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากวัสดุเหลือใช้ด้วยเทคนิคในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การทดสอบและประเมินคุณภาพผลิตภัณฑ์ การทดสอบผู้บริโภค
2.3.1 สอบข้อเขียนแบบอัตนัยและ/หรือแบบปรนัย
3.1.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.2.1  ฝึกทักษะปฏิบัติการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารกึ่งแห้ง
          3.2.2 มอบหมายให้นักศึกษาสำรวจตลาดผลิตภัณฑ์ที่มีความเป็นไปได้ในการนำของเหลือจากกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์อาหารมาแปรรูป และอภิปรายสรุปในชั้นเรียน
3.3.1 ประเมินทักษะปฏิบัติหลังเสร็จสิ้นการเรียนการสอน การแก้ปัญหาระหว่างปฏิบัติ และประเมินคุณภาพผลิตภัณฑ์สุดท้าย
          3.3.2 ประเมินผลงานรายบุคคลหรือกลุ่ม (เอกสาร รายงาน)และการส่งรายงานบทปฏิบัติการตามที่ได้รับมอบหมาย
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 แบ่งกลุ่มนักศึกษาในภาคปฏิบัติ
4.2.2 มอบหมายงานทั้งรายบุคคลและกลุ่ม           
4.2.3 อธิบายข้อปฏิบัติในการเข้าชั้นเรียนทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ
4.3.1 ทำงานเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด และคุณภาพของงานเป็นไปตามที่กำหนด
4.3.2 ตรวจสอบการความสม่ำเสมอในการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษา การแต่งกายที่เหมาะสม และการทำความสะอาดหลังการปฏิบัติ
4.3.3 สังเกตและประเมินการทำงานร่วมกับผู้อื่นจากการส่งรายงานบทปฏิบัติการ
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1มอบหมาย และมีการนำเสนอในชั้นเรียน
5.3.1 ประเมินผลการนำเสนอ รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสม การใช้สื่อที่เหมาะสมนำเสนอ
6.1.1 สามารถบริหารจัดการด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์ และวิธีการได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม
6.1.2 สามารถทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม และมีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
6.1.3 มีทักษะการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
6.2.1 แบ่งกลุ่มนักศึกษาในภาคปฏิบัติ
6.2.2 อธิบายวิธีการปฏิบัติวิธีการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ที่เหมาะสม และข้อควรระวังใช้การใช้เครื่องมือ
6.2.3 ฝึกทักษะปฏิบัติตามลำดับขั้นตอน
6.3.1 สังเกตความสำเร็จของงาน ตามระยะเวลาที่กำหนดอย่างเหมาะสม
6.3.2 สังเกตการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ถูกต้องและเหมาะสม
6.3.3 บันทึกคุณภาพของผลิตภัณฑ์สุดท้าย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 2.1 3.4, 4.1, 6.1 สอบกลางภาค(หน่วยที่ 1-5) สอบปลายภาค(หน่วยที่ 6-7) สอบปฏิบัติ 9 18 17 30% 25% 10%
2 1.3, 1.5, 2.2, 5.2, 5.6 4.1, 6.1 4.1 การนำเสนองานวิจัยและรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งรายงานบทปฏิบัติการ 16 ตลอดภาคการศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 10 % 5 % 10%
3 1.3 1.5 การเข้าชั้นเรียน การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 5% 5 %
ไพโรจน์   วิริยะจารี.  2539. อาหารกึ่งแห้ง .  ภาควิชาเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ์  คณะอุตสาหกรรมเกษตร  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.  204 น.
ไพโรจน์   วิริยะจารี.  2545.  หลักการทางเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ .  พิมพ์ครั้งที่ 2.  ภาควิชาเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ์  คณะอุตสาหกรรมเกษตร  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 436 น.
อนุวัตร  แจ้งชัด.  2544.  เอกสารประกอบการสอนวิชา 054-355 :  สถิติและการวางแผนการทดลองสำหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์. ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์  คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.  
Graf, E. and Saguy, I.S. 1991. Food Product Development: From Concept to the Market Place. AVI Book, New York.
คณาจารย์ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร. 2549. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมเกษตร. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ :สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 466 หน้า
วารสารอาหาร, Journal of Food Science
เวปไซด์มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอาหาร มาตรฐานผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน อย. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ E-learning ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

3 ข้อเสนอแนะผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1 การจัดสัมมนาความรู้ใหม่ๆ เกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารกึ่งแห้งในชั้นเรียน
3.2 การแทรกตัวอย่างงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในบทเรียน
3.3 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.4 การศึกษาดูงานนอกสถานตามโอกาส
ระหว่างการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามหรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 จากผู้ทรงคุณวุฒิและนักศึกษา
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ