การบริหารโครงการ

Project Management

1. เพื่อให้เข้าใจความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการวางแผนและรูปแบบของแผน
2. เพื่อให้เข้าใจลักษณะโครงการรวมถึงการวางแผนโครงการต่าง ๆ
3. เพื่อให้เข้าใจถึงการจัดโครงสร้างองค์การรวมถึงการบริหารทรัพยากรของโครงการ
4. เพื่อให้เข้าใจถึงการวิเคราะห์โครงการและวิธีการตัดสินใจเลือกโครงการ
5. เพื่อให้รู้ถึงเทคนิคการควบคุมและการประเมินโครงการ
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับความหมายหลักการ แนวคิด ความสำคัญของการจัดทำโครงการ การวางแผน การบริหารโครงการในรูปแบบต่าง ๆ วิธีการเขียนโครงการและเทคนิคในการวางแผนและควบคุมโครงการในรูปแบบต่าง ๆ
2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ระบบการดำเนินการ การบริหารโครงการ สภาวะแวดล้อมของโครงการ ความเป็นไปได้ของโครงการ ปัจจัยที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดทำโครงการ การควบคุมโครงการการประเมินผลและยุติโครงการ
3. เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมทางด้านปัญญาและทักษะในการนำความรู้ไปใช้ในการทำงาน
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ การวิเคราะห์ความคุ้มทุน การวางแผนปฏิบัติการ การดำเนินการตามแผน การจัดลำดับขั้นตอนการดำเนินงาน การควบคุมและติดตามงาน การประเมินผลของโครงการ โครงสร้างของทีมงานที่มีคุณภาพ การจัดสรรทรัพยากรในการทำงาน การทำเอกสารของโครงการการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการโครงการ
To study the project feasibility analysis, breakeven analysis, action plan, plan implementation, operation scheduling, monitoring and controlling, project evaluation, effective team structure, resource allocation, project design document, and the use of technology in project management.
2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์สอนเสริมเป็นรายบุคคล (เฉพาะรายที่ต้องการเพิ่มเติม)
 
(1) นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ รวมทั้งทำประโยชน์ให้กับส่วนรวม
(2) นำความรู้และทักษะที่ได้ศึกษาไปสร้างองค์ความรู้ใหม่เพื่อพัฒนาการจัดการความรู้ของตนเองให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
(3) มีคุณธรรม จริยธรรมในการแสวงหาและถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้อื่น ตลอดจนใช้เทคโนโลยีในการจัดการความรู้ในทางที่เหมาะสม
(4) มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย ตรงต่อเวลาและมีวินัยในการเรียน
บรรยาย อภิปราย พร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาในประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้
(1) บันทึกพฤติกรรมการเข้าเรียน
(2) สังเกตพฤติกรรมระหว่างการทำงานกลุ่มและการนำเสนอ โดยผู้สอนอาจซักถามประเด็น
มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน
1. จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ 2. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
7. ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้าหน้าชั้นเรียน
1. สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง
4. สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
4. การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน 5. การมอบหมายงาน การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง
6. ประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โครงงาน โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน
8. ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
1. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้ 2. มีความสามารถในการแสดงความริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็น ใหม่ ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีมสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
5. มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสาร การติดต่อประสานงานกับบุคคลอื่นๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา 6. มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ 
2. พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
7. สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
1. สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ มาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน
1. สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร การค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงานในเนื้อหาของรายวิชาที่เกี่ยวข้อง

5. ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ ในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข ได้ 6. มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
1. การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค
3. พฤติกรรม การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และความสามารถในการใช้ภาษา การสื่อสาร ของนักศึกษาเพื่อสื่อสาร
1. สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
3. จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจ ด้านการวางแผนการจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการสรุปผล การดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
4. การนำเสนอผลงาน หรือโครงงาน โดยการเลือกใช้ภาษา การสื่อสารในบริบทต่าง ๆเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา อย่างเหมาะสม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
ชนงกรณ์ กุณฑลบุตร. การศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2550.
ธานัท วรุณกูล. หลักการบริหารโครงการ. เชียงใหม่ : มิ่งเมือง, 2555.
บรรจง อมรชีวิต. การวางแผนและการบริการโครงการ. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเดชั่น, 2557.
มยุรี อนุมานราชธน. การบริหารโครงการ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
2551.
วิสูตร จิระดำเกิง. การบริหารโครงการแนวทางปฏิบัติจริง. พิมพ์ครั้งที่ 3. ปทุมธานี : วรรณกวี, 2554.
สุทัศน์ รัตนเกื้อกังวาน. การบริการโครงการ เครื่องมือและเทคนิคในการบริหารโครงการ. กรุงเทพฯ : โรง
พิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556.
อินทิรา รอบรู้. การบริหารโครงการ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งมหาวิทยาลัย
รัตนา สายคณิต. การบริหารโครงการ แนวทางสู่ความสำเร็จ. กรุงเทพฯ : คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 2556.
บทความเชิงวิเคราะห์โครงการต่าง ๆ ที่อยู่ในวารสาร หนังสือพิมพ์หรือเวปไซต์
 
1.1 การสนทนาระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
1.2 ผลการประเมินผู้สอนจากนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชา ดำเนินการโดยมทร.ล้านนา น่าน
2.1 แบบฝึกหัด
2.2 รายงานการค้นคว้าต่าง ๆ ที่มอบหมาย
2.3 การนำเสนอผลงาน และการตอบคำถามของนักศึกษา
2.4 การเรียนของนักศึกษาในการสอบกลางภาคและสอบปลายภาค
3.1 จัดประชุมเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
3.2 จัดทำวิจัยในชั้นเรียน (ถ้ามี)
3.3 แก้ไขข้อบกพร่องจากผลการประเมินผู้สอน จากนักศึกษา
หลักสูตรมีคณะกรรมการประเมินการสอน ทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน
หลักสูตรมีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา พิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษาที่เรียนในแต่ละภาคการศึกษา บัณฑิตที่ไปประกอบอาชีพแล้ว ผู้ประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชน ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของหลักสูตร การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอนหลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชาอาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอน กลยุทธ์ที่ใช้ในการสอน และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาต่อไป