การออกแบบภาพประกอบ

Illustration Design

          เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เรื่องความหมายและความสำคัญและประเภทของภาพประกอบเรื่อง  รู้จักเลือกวัสดุอุปกรณ์ในการเขียนภาพประกอบเรื่อง เข้าใจการเลือกใช้เทคนิคในการเขียนภาพประกอบเรื่อง  มีทักษะในการสร้างภาพประกอบเพื่อสื่อความหมายในเนื้อหาที่กำหนดได้อย่างเหมาะสม และเห็นคุณค่าของการสร้างภาพประกอบเรื่อง
ปรับปรุงวิธีการสอน และกิจกรรมในคาบ โดยมุ่งเน้นไปที่งานด้านคอมพิวเตอร์ให้มากขึ้น ซึ่งงานที่เกี่ยวข้องนั้นจะมีการต่อยอดจากงานฝีมือ โดยเน้นให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้เทคนิคการลงสี การสร้างสรรค์ผลงาน และการทำงานด้านภาพประกอบในสเกลที่ใหญ่ขึ้น โดยจะมุ่งเน้นไปในงานด้านดิจิตอลและสื่อออนไลน์ให้ทันกับเทคโนโลยีและความเปลี่ยนแปลงในปัจจุปัน
              ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการวิเคราะห์เนื้อหาและการพัฒนาเรื่อง เพื่อการออกแบบภาพประกอบ การวางแนวคิดและการจัดทำแบบร่าง      สร้างภาพประกอบด้วยวัสดุและอุปกรณ์ต่างๆ  รวมทั้งการใช้โปรแกรม   สำเร็จรูปในการสร้างภาพประกอบ และการประยุกต์ใช้ในงานออกแบบสื่อ
 -   นักศึกษาสามารถเข้าพบและขอคำปรึกษาได้นอกเวลาเรียนตามต้องการ
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
คุณธรรมจริยธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา

   ¡ 1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม    l 1.2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
วิธีการสอน

ü บรรยาย 1(1),1(2) ü อภิปรายกลุ่ม 1(2)   กรณีศึกษา     ปฏิบัติงาน     การถามตอบ     การศึกษาค้นคว้าทำรายงาน     โครงงาน     การทำงานกลุ่ม และงานเดี่ยว     นำเสนองาน     การสาธิต     การจัดสถานการณ์จำลอง   ü การเช็คชื่อเข้าชั้นเรียน 1(1)
วิธีการประเมินผล

ü ประเมินผลจากการเช็คชื่อเข้าชั้นเรียน  การส่งงานตรงเวลา 1(1) ü ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน   การแต่งกาย  การตรงต่อเวลา 1(1)   ประเมินผลจากชิ้นงานปฏิบัติ  กลุ่มและเดี่ยว     ประเมินผลจากรายงาน  กลุ่ม และเดี่ยว     ประเมินจากการนำเสนองานด้วย วาจา  ด้วยโปสเตอร์   และสื่ออื่นๆ     ประเมินกระบวนการทำงาน  ด้วย วาจา  ด้วยโปสเตอร์   และสื่ออื่นๆ     ประเมินจากการสอบกลางภาค  ปลายภาค  และสอบย่อย     ประเมินจากการสอบปฏิบัติ     ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง  
2.ด้านความรู้

l 2.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรมและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง ¡ 2.2 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ 
     อย่างเป็นระบบ l 2.3 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม ¡ 2.4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพ
     ด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
วิธีการสอน

ü บรรยาย 2(1)   อภิปรายกลุ่ม     กรณีศึกษา   ü ปฏิบัติงาน 2(3), 2(4)   การถามตอบ   ü การศึกษาค้นคว้าทำรายงานด้วย วาจา  ด้วยโปสเตอร์   และสื่ออื่นๆ 2(2),2(3)   โครงงาน     การทำงานกลุ่ม และงานเดี่ยว     นำเสนองาน   ü การสาธิต 2(1)   การจัดสถานการณ์จำลอง     การเช็คชื่อเข้าชั้นเรียน  
วิธีการประเมินผล

  ประเมินผลจากการเช็คชื่อเข้าชั้นเรียน  การส่งงานตรงเวลา     ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน   การแต่งกาย  การตรงต่อเวลา     ประเมินผลจากชิ้นงานปฏิบัติ  กลุ่มและเดี่ยว   ü ประเมินผลจากรายงาน  กลุ่ม และเดี่ยว 2(2) 2(3)   ประเมินจากการนำเสนองานด้วย วาจา  ด้วยโปสเตอร์   และสื่ออื่นๆ     ประเมินกระบวนการทำงาน    ü ประเมินจากการสอบกลางภาค  ปลายภาค  และสอบย่อย 2(1),2(2)   ประเมินจากการสอบปฏิบัติ     ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง  
ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา

l 3.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ ¡ 3.3 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ 
     และวิชาชีพ
วิธีการสอน

  บรรยาย     อภิปรายกลุ่ม     กรณีศึกษา   ü ปฏิบัติงาน 3(2)   การถามตอบ   ü การศึกษาค้นคว้าทำรายงาน 3(3) ü โครงงาน 3(3)   การทำงานกลุ่ม และงานเดี่ยว     นำเสนองานด้วย วาจา  ด้วยโปสเตอร์   และสื่ออื่นๆ     การสาธิต     การจัดสถานการณ์จำลอง     การเช็คชื่อเข้าชั้นเรียน  
วิธีการประเมินผล

  ประเมินผลจากการเช็คชื่อเข้าชั้นเรียน  การส่งงานตรงเวลา     ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน   การแต่งกาย  การตรงต่อเวลา   ü ประเมินผลจากชิ้นงานปฏิบัติ  กลุ่มและเดี่ยว 3(2)   ประเมินผลจากรายงาน  กลุ่ม และเดี่ยว     ประเมินจากการนำเสนองานด้วย วาจา  ด้วยโปสเตอร์   และสื่ออื่นๆ   ü ประเมินกระบวนการทำงาน  และโครงงาน 3(2), 3(3)   ประเมินจากการสอบกลางภาค  ปลายภาค  และสอบย่อย     ประเมินจากการสอบปฏิบัติ     ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง  
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา

   ¡ 4.1 มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
     และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
วิธีการสอน

  บรรยาย     อภิปรายกลุ่ม     กรณีศึกษา     ปฏิบัติงาน     การถามตอบ     การศึกษาค้นคว้าทำรายงาน     โครงงาน   ü การทำงานกลุ่ม และงานเดี่ยว 4(1) ü นำเสนองานด้วยวาจา  สื่ออื่นๆ 4(1)   การสาธิต     การจัดสถานการณ์จำลอง     การเช็คชื่อเข้าชั้นเรียน  
วิธีการประเมินผล

  ประเมินผลจากการเช็คชื่อเข้าชั้นเรียน  การส่งงานตรงเวลา     ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน   การแต่งกาย  การตรงต่อเวลา   ü ประเมินผลจากชิ้นงานปฏิบัติ  กลุ่มและเดี่ยว 4(1) ü ประเมินผลจากรายงาน  กลุ่ม และเดี่ยว 4(1) ü ประเมินจากการนำเสนองานด้วยวาจา  ด้วยโปสเตอร์   และสื่ออื่นๆ 4(1)   ประเมินกระบวนการทำงาน      ประเมินจากการสอบกลางภาค  ปลายภาค  และสอบย่อย     ประเมินจากการสอบปฏิบัติ     ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง  
   ¡ 5.1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้
วิธีการทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 
วิธีการสอน

  บรรยาย     อภิปรายกลุ่ม     กรณีศึกษา     ปฏิบัติงาน     การถามตอบ   ü ปฏิบัติ เน้นการเขียน การใช้ภาษา 5(1) ü การศึกษาค้นคว้าทำรายงาน 5(1) ü โครงงาน 5(1)   การทำงานกลุ่ม และงานเดี่ยว   ü นำเสนองานด้วยวาจา  สื่อ 5(1)   การสาธิต     การจัดสถานการณ์จำลอง     การเช็คชื่อเขาชั้นเรียน  
  ประเมินผลจากการเช็คชื่อเข้าชั้นเรียน  การส่งงานตรงเวลา     ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน   การแต่งกาย  การตรงต่อเวลา   ü ประเมินผลจากชิ้นงานปฏิบัติ  กลุ่มและเดี่ยว  เน้นการใช้ภาษา 5(1)   ประเมินผลจากรายงาน  กลุ่ม และเดี่ยว   ü ประเมินจากการนำเสนองาน 5(1) ü ประเมินกระบวนการทำงาน  ด้วย วาจา  ด้วยโปสเตอร์   และสื่ออื่นๆ 5(1)   ประเมินจากการสอบกลางภาค  ปลายภาค  และสอบย่อย     ประเมินจากการสอบปฏิบัติ     ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง  
¡ 6.1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ l 6.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง ¡ 6.3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
  บรรยาย     อภิปรายกลุ่ม     กรณีศึกษา   ü ปฏิบัติงาน 6(1)   การถามตอบ     ปฏิบัติ เน้นการเขียน การใช้ภาษา     การศึกษาค้นคว้าทำรายงาน   ü โครงงาน 6(1), 6(2), 6(3)   การทำงานกลุ่ม และงานเดี่ยว   ü นำเสนองานด้วยวาจา  สื่อ 6(2)   การสาธิต     การจัดสถานการณ์จำลอง     การเช็คชื่อเขาชั้นเรียน  
  ประเมินผลจากการเช็คชื่อเข้าชั้นเรียน  การส่งงานตรงเวลา     ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน   การแต่งกาย  การตรงต่อเวลา   ü ประเมินผลจากชิ้นงานปฏิบัติ  เดี่ยว  6(1)   ประเมินผลจากรายงาน  กลุ่ม และเดี่ยว   ü ประเมินจากการนำเสนองาน 6(2) ü ประเมินกระบวนการทำงาน  ด้วย วาจา  ด้วยโปสเตอร์   และสื่ออื่นๆ 6(1)   ประเมินจากการสอบกลางภาค  ปลายภาค  และสอบย่อย     ประเมินจากการสอบปฏิบัติ   ü ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง 6(1), 6(2), 6(3)
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 2.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรมและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง 2.2 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ 2.3 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม 2.4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา 3.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 3.3 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพ 4.1 มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 5.1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้ วิธีการทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ 6.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 6.3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
1 BAACD126 การออกแบบภาพประกอบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1(1),1(2) การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน การส่งงานตรงเวลา การแต่งกาย การแสดงพฤติกรรมที่ไม่ละเมิดสิทธิและดูแคลนผู้อื่น พฤติกรรมการเรียน การส่งงาน การติดตามงาน ตลอดภาค 10%
2 3(2),3(3) 6(3) งานปฏิบัติตลอดภาคการศึกษา โครงงานสรุป ตลอดภาค 16 30 % 20 %
3 2(1),2(2),2(3), 2(4) สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 18 15 % 15 %
4 2(3),3(1),4(1),,5(1) , 6(1), รายงานกลุ่ม และเดี่ยว กระบวนการทำงาน การนำเสนองานกลุ่ม งานเดี่ยว ตลอดภาค 17 5 % 5 %
ภาษาไทย
หนังสือ
[1]    การวาดการ์ตูนแบบมังกะ How to Draw Manga เล่ม 4 มุมมองบบเพอร์สเปกทีพ. Everbest 
               Printing Co., Ltd., 2008
[2]    กาญจนา แก้วเทพ. แนวพินิจใหม่ในสื่อสารศึกษา. คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย :  
               2553
[3]    ธิดารัตน์ แซ่ตั้ง และคณะ. CG Painting วาดการ์ตูนด้วย Photoshop. กรุงเทพฯ : บริษัท โปรวิชั่น  
               จำกัด, 2555
[4]    นิรวาณ  คุระทอง.ประวัติย่อการ์ตูนไทย. กรุงเทพฯ : เล็ด คอมิค, 2553
[5]    นิวิต  หะนนท์. การเขียนสีน้ำ. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ : กรุงเทพฯ, 2532
[6]    นิวิต  หะนนท์. การเรียนกายวิภาคจากศิลปินเอก. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ : กรุงเทพฯ, 2532
[7]    บุญเลิศ  บุตรขาว. กายวิภาค. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ : กรุงเทพฯ, 2533
[8]    พิเชษฐ สุนทรโชติ, ผู้ช่วยศาสตราจารย์.  ศิลปะการวาดภาพประกอบเรื่อง. มหาวิทยาลัยราชภัฎ
               สวนดุสิต. 2559
[9]    วสันต์ พึ่งพูลผล. Illustrator CC 2017 Professional Guide. ไอดีซี พรีเมียร์ จำกัด, กรุงเทพฯ,     
               2561
[10]   วาดกุหลาบด้วยสีน้ำ. ชบาฉายสตูดิโอ. บริษัทอัมรินทร์พริ้นติ้งแอนพับลิชชิ่ง : 2555
[11]   ศุภกรณ์  ดิษฐ์พันธ์. ประวัติศาสตร์การออกแบบกราฟิก. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558
[12]  ศุภพงศ์  ยืนยง. หลักการเขียนภาพ. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ : กรุงเทพฯ, 2547
[13]  สุชาติ  เถาทอง, รองศาสตราจารย์. วาดเส้น. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ : กรุงเทพฯ, 2526
[14]  อิศเรศ ภาชนะกาญจน์. Essential Photoshop cs6. ไอดีซี พรีเมียร์ จำกัด, กรุงเทพฯ,     
               2556
[15]  อัศนีย์  ชูอรุณ, รองศาสตราจารย์. การวาดรูปวิธีง่ายๆ. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ : กรุงเทพฯ, 2542
[16]  อัศวิน  อรุณแสง. การเขียนการ์ตูน. กรุงเทพฯ : บริษัทสำนักพิมพ์ข้างฟ่าง, 2546
[17]  Drawing Comic 1 พื้นฐานที่ดีสำหรับการเริ่มวาดการ์ตูน. บริษัท ไอดีซี พรีเมียร์ จำกัด, 2556
[18]  Drawing Comic 4 วาดการ์ตูน SD อย่างไรให้น่ารักสุดๆ. บริษัท ไอดีซี พรีเมียร์ จำกัด, 2556
 
ภาษาต่างประเทศ
หนังสือ
[19]  Brian Leuvis. An Introduction to Illustration : London : Published by Grange Book,
              1995
 
 


1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก 
รายการเอกสารประกอบการสอนและหนังสืออางอิง
 
ภาษาไทย
หนังสือ
[1]    การวาดการ์ตูนแบบมังกะ How to Draw Manga เล่ม 4 มุมมองบบเพอร์สเปกทีพ. Everbest 
               Printing Co., Ltd., 2008
[2]    กาญจนา แก้วเทพ. แนวพินิจใหม่ในสื่อสารศึกษา. คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย :  
               2553
[3]    ธิดารัตน์ แซ่ตั้ง และคณะ. CG Painting วาดการ์ตูนด้วย Photoshop. กรุงเทพฯ : บริษัท โปรวิชั่น  
               จำกัด, 2555
[4]    นิรวาณ  คุระทอง.ประวัติย่อการ์ตูนไทย. กรุงเทพฯ : เล็ด คอมิค, 2553
[5]    นิวิต  หะนนท์. การเขียนสีน้ำ. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ : กรุงเทพฯ, 2532
[6]    นิวิต  หะนนท์. การเรียนกายวิภาคจากศิลปินเอก. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ : กรุงเทพฯ, 2532
[7]    บุญเลิศ  บุตรขาว. กายวิภาค. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ : กรุงเทพฯ, 2533
[8]    พิเชษฐ สุนทรโชติ, ผู้ช่วยศาสตราจารย์.  ศิลปะการวาดภาพประกอบเรื่อง. มหาวิทยาลัยราชภัฎ
               สวนดุสิต. 2559
[9]    วสันต์ พึ่งพูลผล. Illustrator CC 2017 Professional Guide. ไอดีซี พรีเมียร์ จำกัด, กรุงเทพฯ,     
               2561
[10]   วาดกุหลาบด้วยสีน้ำ. ชบาฉายสตูดิโอ. บริษัทอัมรินทร์พริ้นติ้งแอนพับลิชชิ่ง : 2555
[11]   ศุภกรณ์  ดิษฐ์พันธ์. ประวัติศาสตร์การออกแบบกราฟิก. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558
[12]  ศุภพงศ์  ยืนยง. หลักการเขียนภาพ. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ : กรุงเทพฯ, 2547
[13]  สุชาติ  เถาทอง, รองศาสตราจารย์. วาดเส้น. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ : กรุงเทพฯ, 2526
[14]  อิศเรศ ภาชนะกาญจน์. Essential Photoshop cs6. ไอดีซี พรีเมียร์ จำกัด, กรุงเทพฯ,     
               2556
[15]  อัศนีย์  ชูอรุณ, รองศาสตราจารย์. การวาดรูปวิธีง่ายๆ. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ : กรุงเทพฯ, 2542
[16]  อัศวิน  อรุณแสง. การเขียนการ์ตูน. กรุงเทพฯ : บริษัทสำนักพิมพ์ข้างฟ่าง, 2546
[17]  Drawing Comic 1 พื้นฐานที่ดีสำหรับการเริ่มวาดการ์ตูน. บริษัท ไอดีซี พรีเมียร์ จำกัด, 2556
[18]  Drawing Comic 4 วาดการ์ตูน SD อย่างไรให้น่ารักสุดๆ. บริษัท ไอดีซี พรีเมียร์ จำกัด, 2556
 
ภาษาต่างประเทศ
หนังสือ
[19]  Brian Leuvis. An Introduction to Illustration : London : Published by Grange Book,
              1995
[20]  Barty Phillips. Fabrics and Wallpapers Sources, Design and Inspiration. A Bulfinch
    Press Book Little, Brown and Company,1991
[21]  F. Schestag, Katalog der Kunstsammlung des Freiherrn. Anselm von Rothschild in 
              Wien (Vienna 1872)
[22]  Hikaru  Hayashi. How to Draw Manga : Animal. Duangkamol publishing, 2007
[23]  Illuminating the Renaissance: the Triumph of Flemish Manuscript Painting in 
            Europe, eds T. Kren and S. McKendrick, 2003, catalogue of the exhibition at    
            J.Paul Getty Museum and Royal Academy of Arts 2003-2004
[24]  Paper Art. Art Power International Publishing Co., LTD.,2016
[25]  P. de Winter, A Book of Hours of Queen Isabel la Catolica'. The Bulletin of The  
             Cleveland Museum of Art, LXVII (1981), pp.342-427
[26]  Ron Ranson. Watercolours. Anaya Publishers LTD. LONDON, SELECTED
             BIBLIOGRAPHY: 1993
[27]  Stephen Silver. Techiques, Tip, and Tutorials. Design Studio Press. 2017
[28]  Tamara Laporte. Life Book. Mixed Media Art Projects for Expanding Creativity    
            and  Encouraging Personal Growth. Quarto Publishing USA Inc. 2018 
 
ภาษาไทย
อินเตอร์เน็ต
 
[29]  การเรียงความ.https://sites.google.com/site/karreiyngkhwam/khwam-hmay-khxng- 
                khana-neux-reuxng-srup (วันที่สืบค้น 18 มิถุนายน 2561)
[30]   การวิเคราะห์เนื้อหา. https://www.nstda.or.th/th/nstda-knowledge/2854-content- 
                analysis. (วันที่สืบค้น 18 มิถุนายน 2561)
[31]  ข้อมูลจากหนังสือ ครูช่างศิลปหัตถกรรม ปี 2558 จัดทำโดย ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ
                (SACICT) http://alumni.rmutp.ac.th/wp-content/uploads/2017/05/%
[32]  ครูแผน.เพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมไทย ศิลปกรรมสากล และความสัมพันธ์จากอดีตสู่ปัจจุบัน,   
                 https://scratch.mit.edu/projects/1090442/ (วันที่สืบค้น 9 พฤษภาคม 2561)
[33]  บทกวีโรมันวรรณกรรมคลาสสิก. AENEID ILLUSTRATED French & Latin Virgile; Michel de  
                Marolles. Published by Paris: chez de Luyne, 1662., เข้าถึงได้จาก    
                http://dcc.newberry.org/collections/shakespeare-rome. (วันที่สืบค้น 18 สิงหาคม  
                2559)
[34]   นิพัทธ์ ทองเล็ก.พลเอก, หมอปลัดเล หมอเทวดาที่มาทำงานในสยาม https://www.silpa-  
                mag.com/old-photos-tell-the-historical-story/article_2849 (วันที่สืบค้น 28 ตุลาคม     
                2558)
[35]    พจนานุกรมแปล ไทย-ไทย อ.เปลื้อง ณ นคร. เข้าถึงได้จาก https://dictionary.sanook.com/
                search/dict-th-th-pleang/char (วันที่สืบค้น 10 มิถุนายน 2559)
[36]   รูปเงาแห่งเสียง.ศิลปวัฒนธรรม/สังคม-การเมือง, http://oknation.nationtv.tv/blog/   
               insanetheater. (วันที่สืบค้น 18 สิงหาคม 2559)
[37]   สนเทศน่ารู้ : ศิลปะกระดาษ...จากตำนาน…สู่มหัศจรรย์ศิลปะกระดาษ      
               http://www.lib.ru.ac.th/journal/paper1.html สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัย 
               รามคำแหง
 
ภาษาต่างประเทศ
อินเตอร์เน็ต [38]   EGYPTIAN BOOK OF THE DEAD AND ANCIENT EGYPTIAN VIEWS OF THE AFTERLIFE.
               Missale Romanum. Venice: L.A. Giunta, November 20, 1501. Page 2. Rosenwald
                Collection. Rare Book and Special Collections Division, Library of Congress
                (39)
[39]  ILLUMINATION. SELECTED BIBLIOGRAPHY: F. Schestag, Katalog der Kunstsammlung
               des Freiherrn Anselm von Rothschild in Wien (Vienna 1872)
[40]  Emperor Maximilien on Horseback Hans Burgkmair, 1508 Source: fllac.vassar.edu
               http://pages.vassar.edu/creativearts/files, 2014
 
 
 
 
                                   


[20]  Barty Phillips. Fabrics and Wallpapers Sources, Design and Inspiration. A Bulfinch
    Press Book Little, Brown and Company,1991
[21]  F. Schestag, Katalog der Kunstsammlung des Freiherrn. Anselm von Rothschild in 
              Wien (Vienna 1872)
[22]  Hikaru  Hayashi. How to Draw Manga : Animal. Duangkamol publishing, 2007
[23]  Illuminating the Renaissance: the Triumph of Flemish Manuscript Painting in 
            Europe, eds T. Kren and S. McKendrick, 2003, catalogue of the exhibition at    
            J.Paul Getty Museum and Royal Academy of Arts 2003-2004
[24]  Paper Art. Art Power International Publishing Co., LTD.,2016
[25]  P. de Winter, A Book of Hours of Queen Isabel la Catolica'. The Bulletin of The  
             Cleveland Museum of Art, LXVII (1981), pp.342-427
[26]  Ron Ranson. Watercolours. Anaya Publishers LTD. LONDON, SELECTED
             BIBLIOGRAPHY: 1993
[27]  Stephen Silver. Techiques, Tip, and Tutorials. Design Studio Press. 2017
[28]  Tamara Laporte. Life Book. Mixed Media Art Projects for Expanding Creativity    
            and  Encouraging Personal Growth. Quarto Publishing USA Inc. 2018 
    Website ที่เกี่ยวข้องกับ การออกแบบภาพประกอบ
    การแสดงงานศิลปะ  ของหอศิลป์คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา
    การแสดงงานศิลปะ ของหอศิลป์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
 เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการเขียนภาพประกอบ
เน้นการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมของผู้เรียนโดยใช้วิธีการดังนี้

 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา  การสอบถามนักศึกษาในชั้นเรียน

 การส่งข้อเสนอส่วนตัวให้ผู้สอน  โดยการเขียนแสดงความคิดเห็นในการสอน ผ่านช่องทางต่างๆ  เช่น  แบบแสดงความคิดเห็น  E-mail
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2   การมีส่วนร่วมของนักศึกษา
2.3   การพัฒนาการทำงานของนักศึกษา
2.4   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ โดยการให้นักศึกษาประเมินตัวเอง
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการมีส่วนร่วมของนักศึกษาดังนี้
3.1   ดูผลการประเมินรายวิชาของนักศึกษา
3.2   ปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอน ตามข้อเสนอ
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย  และปลายภาคให้นักศึกษาประเมินตนเอง
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ