หลักมูลวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์

Fundamentals of Electronics Engineering

1.1 เข้าใจโครงสร้างและหลักการทำงานของอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำต่าง ๆ เช่น ไดโอด ซีเนอร์ไดโอด ซอตกีไดโอดและไดโอดเปล่งแสง ทรานซิสเตอร์แบบไบโพลาร ์และทรานซิสเตอร์แบบสนามไฟฟ้าเจเฟ็ต และมอสเฟ็ต 1.2 เข้าใจการไบแอสวงจรทรานซิสเตอร์ และการวิเคราะห์วงจรทรานซิสเตอร์ โดยใช้วงจร ต้นแบบของวงจรแบบคอลเล็กเตอร์ร่วม เบสร่วม และอิมิตเตอร์ร่วมชนิดที่มีและไม่มีความต้านทาน อัตราการตอบสนองความถี่ วงจรแหล่งจ่ายไฟกระแสตรง และวงจรควบคุมแรงดันให้คงที่ 1.3 เข้าใจการนำวงจรรวมออปแอมป์ และการประยุกต์ใช้งาน วงจรกรองความถี่แบบพาสซีฟ และ แบบแอกทีฟ วงจรออสซิลเลเตอร์แบบต่าง ๆ 1.4 สามารถนำเอาวิชาหลักมูลทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ไปประยุกต์ใช้งานได้
- เพื่อให้การเรียนการสอนและหลักสูตรทันสมัยใหม่อยู่เสมอ
โครงสร้างและหลักการทำงานของอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำต่าง ๆ เช่น ไดโอด ซีเนอร์ไดโอด ซอตกีไดโอดและไดโอดเปล่งแสง ทรานซิสเตอร์แบบไบโพลาร ์และทรานซิสเตอร์แบบสนามไฟฟ้าเจเฟ็ต และมอสเฟ็ต การไบแอสวงจรทรานซิสเตอร์ และการวิเคราะห์วงจรทรานซิสเตอร์ โดยใช้วงจร ต้นแบบของวงจรแบบคอลเล็กเตอร์ร่วม เบสร่วม และอิมิตเตอร์ร่วมชนิดที่มีและไม่มีความต้านทาน อัตราการตอบสนองความถี่ วงจรแหล่งจ่ายไฟกระแสตรง และวงจรควบคุมแรงดันให้คงที่ แนะนำวงจรรวมออปแอมป์ และการประยุกต์ใช้งาน วงจรกรองความถี่แบบพาสซีฟ และ แบบแอกทีฟ วงจรออสซิลเลเตอร์แบบต่าง ๆ วงจรอเนกระรัว และวงจรเอกระรัว
Semiconductor devices; current-voltage and frequency characteristics; analysis and design of diode circuits; analysis and design of BJT, MOS, CMOS and BiCMOS transistor circuits, operational amplifier and its applications, power supply module.
- 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ ทุกวันจันทร์ช่วงที่ไม่ติดภาระงานสอน
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 
1.2.1 สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม
1.2.2 สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
1.2.3 ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
1.2.4 ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.3.1 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
1.3.2 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาและ/หรือการขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา
1.3.3 การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา
1.3.4 ประเมินปริมาณการทุจริตในการสอบ
2.2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาวิชวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
2.2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีใหม่ๆของวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
2.2.3 สามารถบูรณาการความรู้ในด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์กับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้
2.2.2 นำกิจกรรมการบริการวิชาการด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ที่ถ่ายทอดให้ชุมชนเข้ามาถ่ายทอดในชั้นเรียนด้วยโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.2.3 จัดศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อเสริมการเรียนรู้
2.3.1 ประเมินจากแบบทดสอบด้านทฤษฎี สำหรับการปฏิบัติประเมินจากผลงานและการปฏิบัติการ
2.3.2 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม และ/หรือการทดสอบย่อย
2.3.3 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม และ/หรือการทดสอบย่อย
3.3.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
 
3.2.1 ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ปัญหาและการนำวิชาการไปประยุกต์ใช้อย่างมีทักษะ
3.2.2 มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์
3.3.1 สังเกตจากการรายงานผลการดำเนินงานและการแก้ปัญหา
3.3.2 ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย/การทดสอบย่อย
4.1.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 ให้คำแนะนำในการเข้าร่วมกิจกรรมสโมสร กิจกรรมของมหาวิทยาลัยฯเพื่อส่งเสริมทักษะการอยู่ในสังคมและให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
4.2.2 นำนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมบริการวิชาการโดยให้ชุมชนมีส่วนร่วม กำหนดการทำงานกลุ่มโดยให้หมุนเวียนการเป็นผู้นำ การเป็นสมาชิกกลุ่มและผลัดกันเป็นผู้รายงาน
4.2.3 ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มทำงานร่วมกับชุมชนในกรณีออกบริการวิชาการให้ชุมชนและให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
4.2.4 ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่มและสังคม
4.3.1 ประเมินผลจากแบบประเมินตนเองและกิจกรรมกลุ่มและติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะพร้อมบันทึกพฤติกรรมเป็นรายบุคคล 4.3.2 ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมการระดมสมองและความร่วมมือ 4.3.3 สังเกตพฤติกรรมการระดมสมองและ/หรือการประเมินผลจากทดสอบย่อยและกิจกรรมกลุ่ม 4.3.4 ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมการระดมสมองและความร่วมมือทำงานเป็นทีม
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้นศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข
5.2.2 ใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
5.2.3 มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ และให้นักศึกษานำเสนอหน้าชั้น
5.3.1 ประเมินจากผลงานการทดสอบย่อยและการนำเสนอผลงาน
5.3.2 ประเมินจากผลงานการทดสอบย่อยและการนำเสนอผลงาน
5.3.3 ประเมินจากผลงานการทดสอบย่อยและการนำเสนอผลงาน
---
---
---
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1). ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2) ด้านความรู้ 3) ทักษะทางปัญญา 4) ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ 5) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6) ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1) เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรมจริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 1.2) มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม 1.3) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.4) สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม 1.5) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 2.1) มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐานและเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างวัตกรรมทางเทคโนโลยี 2.2) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม 2.3) สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.4) สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม 2.5) สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตนในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้ 3.1) มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี 3.2) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ ความต้องการ และสรุปประเด็นปัญหา 3.3) สามารถ วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.4) มีจิตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ 3.5) สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ 4.1) สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม 4.2) สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนร่วมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่มร่วมทั้งให้ความช่วยเหลือ และอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่างๆ 4.3) สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 4.4) รู้จัดบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดข้องแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ 4.5) มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม 5.1) มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้อย่างดี 5.2) มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ 5.3) สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 5.4) มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ 5.5) สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง 6.1) มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.2) มีทักษะในการปฎิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
1 ENGAG104 หลักมูลวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 4.1.3,4.1.4, 4.2.1,4.2.3, 4.3.2, 1. สอบปฏิบัติการทดลองครั้งที่ 1 2. สอบกลางภาค 3. สอบปฏิบัติการทดลองครั้งที่ 2 4. สอบปลายภาค 8 9 16 17 5% 30% 5% 30%
2 4.2.1,4.2.3, 4.5.3 แบบฝึกหัดและ/หรือปฏิบัติการทดลอง 1 – 7 และ 10 - 15 25%
3 4.1.1,4.1.2, 4.2.2,4.3.1, 4.3.2,4.4.2, 4.4.3, 4.5.3 การเข้าชั้นเรียน ทักษะพิสัย การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน 1 – 7 และ 10 - 15 5%
1. รศ.บุญเรือง วังศิลาบัตร : Electronics Engineering and Circiut Design
2. ประเสริฐ ปิ่นปฐมรัฐ :“วิศวกรรมไฟฟ้า” (Electrical Engineering) ภาคทฤษฎี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ