มีนวิทยา

Ichthyology

 1  เข้าใจลักษณะของปลา
2  เข้าใจระบบต่าง ๆ ของปลา
3  เข้าใจพฤติกรรมของปลา
4  ปฏิบัติการจำแนกชนิดของปลา
5  มีระเบียบวินัย รับผิดชอบ และ มีเจตคติที่ดีต่อการศึกษา
1  เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องราวของปลา และเป็นพื้นฐานการเรียนในรายวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
 2  เพื่อให้เนื้อหาสมบูรณ์สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับลักษณะของปลา  ระบบโครงร่างและการเคลื่อนที่ของปลา ระบบทางเดินอาหาร  ระบบหายใจ  ระบบหมุนเวียนโลหิต  ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก  ระบบสืบพันธุ์  ระบบขับถ่ายและออสโมเรกูเลชั่น  อนุกรมวิธานของปลา
Study and practices for composition of fish; Anatomy and Movement of fish,  digestion, Respiration, blood circulation, Nervous system and Sensory organs, Reproduction, excretion and Osmoregulation and Taxonomy of fish.
จัดให้นักศึกษาเข้าพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการที่เกี่ยวข้องสัปดาห์ละ 1 ชั่วโมง โดย
          3.1 วันพุธ เวลา 15.00 – 16.00 น. ห้อง FS 102 โทร 0828932210
          3.2  e-mail; amornchai@rmutl.ac.th  ตลอดเวลา
1.2 มีจรรยาบรรณ
1. กำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติให้นักศึกษาต้องถือปฏิบัติในการเรียนรายวิชานี้ เช่น การตรงเวลา   การมีวินัยในห้องเรียน รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
2. นักศึกษาต้องไม่ทุจริตในการสอบหรือการลอกงานของผู้อื่น
3. การอ้างอิงผลงานคนอื่น
1. นักศึกษาต้องมีเวลาเข้าเรียนและตรงเวลาไม่น้อยกว่า 90 %
2. ไม่มีการทุจริตในการสอบ หรือไม่มีการลอกรายงานหรือลอกการบ้าน
3. มีการอ้างอิงผลงานของผู้อื่น
˜ 2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ
š 2.2 มีความรอบรู้
1. บรรยายประกอบการอภิปรายในหลักการทางทฤษฏีและฝึกปฏิบัติในทางมีนวิทยา
2.  มอบหมายให้ค้นคว้างานวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการเรียน พร้อมทั้งเขียนรายงานส่ง
1.  สอบกลางภาคและปลายภาค
2.  จัดทำรายงานเรื่องที่มอบหมายให้ศึกษา
3.  ตรวจงานในแต่ละบทปฏิบัติการ
4. การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและตอบปัญหาในชั้นเรียน
š 3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ
     3.2 สามารถคิดริรเริ่มสร้างสรรค์
˜ 3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้
1. กระตุ้นให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์ ร่วมอภิปรายปัญหาต่าง ๆ กับอาจารย์ ตลอดจนให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
1.  โดยการทดสอบจากข้อสอบที่เป็นข้อสอบซึ่งต้องให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา ตลอดจนนำหลักการและทฤษฎีไปอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม1.  โดยการทดสอบจากข้อสอบที่เป็นข้อสอบซึ่งต้องให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา ตลอดจนนำหลักการและทฤษฎีไปอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
š4.1  ภาวะผู้นำ
1. มอบหมายงานให้นักศึกษาทำเป็นกลุ่ม แล้วนำเสนอในชั้นเรียน
1. ผลงานที่ได้รับมอบหมายของกลุ่ม
š 5.1 มีทักษะการสื่อสาร
š 5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
1. มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากสารสนเทศต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานเพื่อนำมาใช้กับงานที่มอบหมาย
2. ให้ค้นคว้าในการจัดทำรายงานผ่านฐานข้อมูลหรือวารสารวิชาการ
1. ประเมินจากการสอบถาม พูดคุยกับนักศึกษา
2. ประเมินจากรายงานที่มอบหมายหรือการนำเสนองานผ่านระบบสารสนเทศ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 1 2
1 BSCAG301 มีนวิทยา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
อมรชัย  ล้อทองคำ.  2557.  เอกสารประกอบการสอน รายวิชามีนวิทยา (ภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ)  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน.
1. วิมล เหมะจันทร. ๒๕๔๐. ชีววิทยาปลา. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
 2. สันติ พ่วงเจริญ.  2555.  มีนวิทยา.  ภาคชีววิทยาประมง,  คณะประมง,  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
1.  Lagler, K.F., J.E. Bardach, R.R. Miller and D.R. May Passino.  1977.  Ichthyology.  2nd ed.  John Wiley & Sons, Toronto.
2.  Moyle, P.B. and J.J. Cech, JR.  2004.  An introduction to Ichthyology. 5th ed.    Pearson Benjamin Cummings. San Francisco.
3.  Nelson, J. S., T. C. Grande and M. V. H. Wilson.  2016.  Fishes of the World.  5th ed.  John Wiley & Sons, New Jersey.
4.  บทความทางวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการมีนวิทยา  ตามความเหมาะสมของเหตุการณ์และความเป็นปัจจุบัน
1.  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2.  แบบประเมินผู้สอน
1.   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
1.  ปรับปรุงการสอนตามผลการประเมินผู้สอนเป็นรายวิชา
1.  ทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยแบบประเมินตนเองเพื่อทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4